ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามแปซิฟิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ardol67 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox Military Conflict
{{เพิ่มอ้างอิง}}
| conflict = สงครามแปซิฟิก
{{กล่องข้อมูล การรบ
| ชื่อการรบpartof = [[สงครามแปซิฟิกโลกครั้งที่สอง]]
| รูปภาพimage = [[ไฟล์:US landings.jpg|300px]]
| สงคราม = [[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
| คำบรรยายcaption = แผนที่แสดงพื้นที่ขัดแย้งหลักและการยกพลขึ้นบกของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ค.ศ. 1942–1945
| รูปภาพ = [[ไฟล์:US landings.jpg|300px]]
| วันที่date = 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 – 2 กันยายน ค.ศ. 1945
| คำบรรยาย = แผนที่แสดงพื้นที่ขัดแย้งหลักและการยกพลขึ้นบกของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ค.ศ. 1942–1945
| สถานที่place = เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก หมู่เกาะและประเทศเพื่อนบ้านในพื้นที่ดังกล่าว และ[[มหาสมุทรอินเดีย]]บางส่วน
| วันที่ = 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 – 2 กันยายน ค.ศ. 1945
| สถานที่ = เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก หมู่เกาะและประเทศเพื่อนบ้านในพื้นที่ดังกล่าว และ[[มหาสมุทรอินเดีย]]บางส่วน
| territory = [[การยึดครองญี่ปุ่น|การยึดครองญี่ปุ่นโดยฝ่ายสัมพันธมิตร]]
* การถอนทหารญี่ปุ่นที่ยึดครองเมืองท่าของสาธารณรัฐจีน ไต้หวันกลับคืนเป็นของจีน
เส้น 13 ⟶ 12:
* การถอนทหารญี่ปุ่นทั้งหมดจากหมู่เกาะโซโลมอน ดินแดนนิวกินีและปาปัวที่ออสเตรเลียปกครอง
* สหภาพโซเวียตยึดและผนวก[[หมู่เกาะซาฮาลิน]]และ[[หมู่เกาะคูริล|คูริล]]
| ผลลัพธ์result = {{ubl | ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะอย่างเด็ดขาด
| สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด
| [[สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก]] (1951)
เส้น 20 ⟶ 19:
}}
| status =
| คู่ขัดแย้งcombatant1 = '''[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]''':<br>
{{flagicon|USA|1912}} [[สหรัฐอเมริกา]]<br>
* {{flagicon|Philippines|1919}} [[เครือรัฐฟิลิปปินส์]]<br>
เส้น 27 ⟶ 26:
* {{flagicon|Malaysia|1895}} [[บริติชมาลายา]]
* [[ไฟล์:British Raj Red Ensign.svg|25px]] [[บริติชราช]]<br>
{{flagicon|Australia}} [[ประเทศออสเตรเลีย|ออสเตรเลีย]]<br>
{{flagicon|Netherlands}} [[ประเทศเนเธอร์แลนด์|เนเธอร์แลนด์]]<br>
* {{flagicon|Netherlands}} [[อินเดียตะวันออกของดัตช์]]<br>
{{flagicon|Soviet Union|1923}} [[สหภาพโซเวียต]]<br>
ฯลฯ
| คู่ขัดแย้งcombatant2 = '''[[ฝ่ายอักษะ]]''':<br>
{{flagicon|Empire of Japan}} [[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]<br>
{{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย|ไทย]] <br>
{{Collapsible list
| bullets = yes
เส้น 42 ⟶ 41:
| [[ไฟล์:Flag of the Republic of China-Nanjing (Peace, Anti-Communism, National Construction).svg|link=|25px]] [[รัฐบาลหวัง จิงเว่ย|จีนปฏิรูป]]
}}
| ผู้บัญชาการcommander1 = {{flagicon|USA|1912}} [[เชสเตอร์ ดับเบิลยู. นิมิตซ์]]<br>
{{flagicon|USA|1912}} [[ดักลาส แม็กอาร์เธอร์]]<br>
{{flagicon|USA|1912}} [[โจเซฟ สติลเวลล์]]<br>
เส้น 55 ⟶ 54:
{{flagicon|Soviet Union|1923}} [[อเล็กซาโดร วาสิเลฟสกี]]<br>
{{flagicon|Soviet Union|1923}} [[อิวาน ยูมาเชฟ]]
| ผู้บัญชาการcommander2 = {{flagicon|Empire of Japan}} [[เจ้าชายคังอิน โคะโตะฮิโตะ]]<br>
{{flagicon|Empire of Japan}} [[ฮะจิเมะ สุงิยะมะ]]<br>
{{flagicon|Empire of Japan}} [[ฮิเดกิ โตโจ]]<br>
เส้น 65 ⟶ 64:
{{flagicon|Manchukuo}} [[จาง จิงฮุ่ย]]<br>
[[ไฟล์:1931 Flag of India.svg|22px]] [[สุภาษจันทระ โพส]]<br>
| commander3 =
| ผู้บัญชาการ3 =
| กำลังพล1strength1 =
| กำลังพล2strength2 =
| กำลังพล3strength3 =
| casualties1 =
| casualties2 =
เส้น 77 ⟶ 76:
'''สงครามแปซิฟิก''' ({{lang-en|Pacific War}}) หรือ '''สงครามมหาเอเชียบูรพา''' ({{lang-en|Greater East Asia War}}; {{lang-ja|大東亜戦争}}, ''Dai Tō-A Sensō'') เป็นเขตสงครามหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง สู้รบกันในมหาสมุทรแปซิฟิกและเอเชียตะวันออกเป็นหลัก
 
โดยทั่วไปแล้วถือกันว่าสงครามแปซิฟิกเริ่มตั้งแต่วันที่ 7 หรือ 8 ธันวาคม [[ค.ศ. 1941]] เมื่อญี่ปุ่น[[การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์|โจมตีฐานทัพเรือที่เพิร์ลฮาร์เบอร์]] บุกครองประเทศไทยและโจมตีอาณานิคมของอังกฤษในมาลายา สิงคโปร์และฮ่องกง แต่มีนักประวัติศาสตร์บางคนเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม [[ค.ศ. 1937]] ซึ่ง[[สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง]]เริ่มต้นขึ้น หรือ 19 กันยายน ค.ศ. 1931 ตั้งแต่ญี่ปุ่นรุกรานแมนจูเรียของจีน<ref>Roy M. MacLeod, [http://books.google.com/books?id=XhNYUkgX0rQC&pg=PA1 Science and the Pacific War: science and survival in the Pacific, 1939-1945], Kluwer Academic Publishing, p. 1, 1999</ref> หากส่วนใหญ่แล้วมักถือเอาว่าสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สองได้กลายมาเป็นยุทธบริเวณหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สองที่ใหญ่กว่าในภายหลัง<ref>Hsi-sheng Ch'i, in James C. Hsiung and Steven I. Levine, ''China's bitter victory : the war with Japan 1937-1945'', M.E. Sharpe, 1992, p. 157</ref><ref>Youli Sun, [http://books.google.com/books?id=0Iq5ypmhKxUC&pg=PA185&dq=%22pacific+war%22%221937%22&lr=&cd=4#v=snippet&q=pearl%20harbor&f=false China and the Origins of the Pacific War, 1931-41], Palgrave MacMillan, p. 11</ref>
 
[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]เริ่มนโยบาย[[ชาตินิยม]]โดยใช้คำขวัญที่ว่า "เอเชียเพื่อชาวเอเชีย" (Asia for Asiatics) วันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1938<ref>[http://www.ibiblio.org/hyperwar/PTO/IMTFE/IMTFE-5a.html International Military Tribunal for the Far East]</ref> ได้ประกาศนโยบาย "การจัดระเบียบใหม่ในเอเชียตะวันออกและการสร้างวงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา" ({{lang-en|New order in East Asia and the Greater East Asia Co-Prosperity Sphere}}) และให้ความร่วมมือกับ[[ฝ่ายอักษะ]] โดยมีเป้าหมายยึดครอง[[ประเทศจีน]]และประเทศในเอเชียอันตกเป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก{{อ้างอิง}}
 
สงครามสิ้นสุดลงด้วย[[การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ถล่มฮิโระชิมะและนะงะซะกิ]] และการทิ้งระเบิดทางอากาศครั้งใหญ่โดยกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา ประกอบกับการรุกรานแมนจูเรียของสหภาพโซเวียต เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ส่งผลให้ญี่ปุ่นยอมจำนนและเป็นจุดสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สองเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1945 การยอมจำนนอย่างเป็นทางการเกิดขึ้นบนเรือรบยูเอสเอส มิสซูรี ที่ทอดสมอในอ่าวโตเกียวเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1945