ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 141:
| accessdate = 2007-12-09}}
</ref>
 
ในปี 1887 [[ไฮน์ริช เฮิร์ตซ์]]<ref name=uniphysics/>{{rp|843–844}}<ref name="Hertz1887">{{cite journal | first=Heinrich|last= Hertz|title=''Ueber den Einfluss des ultravioletten Lichtes auf die electrische Entladung''|journal= [[Annalen der Physik]] |volume=267|issue=8|pages=S. 983–1000|year=1887|doi=10.1002/andp.18872670827|bibcode=1887AnP...267..983H}}</ref> ค้นพบว่า[[ขั้วไฟฟ้า]]ที่เรืองแสงด้วยรังสีอุลตร้าไวโอเลตจะสร้าง[[ประกายไฟฟ้า]]ได้ง่ายมาก ในปี 1905 [[อัลเบิรต ไอน์สไตน์]]ได้ตีพิมพ์เอกสารที่อธิบายข้อมูลการทดลองจาก[[ผลกระทบโฟโตอิเล็กตริก]]เมื่อการเป็นผลลัพท์ของพลังงานแสงที่กำลังถูกนำส่งในแพกเกตที่แปลงเป็นปริมาณที่ไม่ต่อเนื่อง เป็นการใส่พลังงานให้กับอิเล็กตรอน การค้นพบนี้นำไปสู่การปฏิวัติ[[ควอนตัม]] ไอน์สไตน์ได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]]ในปี 1921 สำหรับ "การค้นพบกฎของผลกระทบโฟโตอิเล็กตริก"<ref>{{cite web |title=The Nobel Prize in Physics 1921 |publisher=Nobel Foundation |url=http://nobelprize.org/nobel_prizes/physics/laureates/1921/index.html |accessdate=2013-03-16}}</ref> ผลกระทบโฟโตอิเล็กตริกยังถูกใช้ใน[[โฟโตเซลล์]]อย่างที่สามารถพบได้ใน[[เซลล์แสงอาทิตย์]]อีกด้วยและเซลล์นี้มักจะถูกใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้าเพื่อการพานิชย์
 
[[โซลิดสเตต|อุปกรณ์โซลิดสเตต]]ตัวแรกเป็น "[[ตัวตรวจจับแบบหนวดแมว]]" มันถูกใช้เป็นครั้งแรกในทศวรรษที่ 1900 ในเครื่องรับวิทยุ ลวดคล้ายหนวดแมวจะถูกวางเบา ๆ ในการสัมผัสกับผลึกของแข็ง (เช่นผลึกเจอร์เมเนียม) เพื่อที่จะตรวจจับสัญญาณ[[วิทยุ]]จากผลกระทบจุดสัมผัสที่รอยต่อ ({{lang-en|contact junction effect}})<ref>[http://encyclopedia2.thefreedictionary.com/solid+state "Solid state"], ''The Free Dictionary''</ref> ในชิ้นส่วนโซลิดสเตต [[กระแสไฟฟ้า|กระแส]]จะถูกกักขังอยู่ในชิ้นส่วนที่เป็นของแข็งและสารประกอบที่ออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อสวิตช์และขยายมัน การไหลของกระแสสามารถเข้าใจได้ในสองรูปแบบ: แบบแรกเป็นอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ และแบบที่สองเป็นพร่องอิเล็กตรอนที่มีประจุบวกที่เรียกว่า[[โฮลอิเล็กตรอน|โฮล]] ประจุและโฮลเหล่านี้สามารถเข้าใจได้ในแง่ของควอนตัมฟิสิกส์ วัสดุที่ใช้สร้างส่วนใหญ่มักจะเป็น[[สารกึ่งตัวนำ]]ที่เป็นผลึก<ref>John Sydney Blakemore, ''Solid state physics'', pp.1-3, Cambridge University Press, 1985 ISBN 0-521-31391-0.</ref><ref>Richard C. Jaeger, Travis N. Blalock, ''Microelectronic circuit design'', pp.46-47, McGraw-Hill Professional, 2003 ISBN 0-07-250503-6.</ref>
 
อุปกรณ์โซลิดสเตตได้เป็นตัวของตัวเองด้วยการประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ในปี 1947 อุปกรณ์โซลิดสเตตที่พบบ่อยได้แก่[[ทรานซิสเตอร์]], ชิป[[ไมโครโปรเซสเซอร์]]และ RAM ชนิดพิเศษของแรมที่เรียกว่าแฟลชแรมถูกใช้ใน USB แฟลชไดรฟ์ และเมื่อเร็ว ๆ นี้[[โซลิดสเตตไดรฟ์]]ได้เข้ามาแทนที่จานแม่เหล็กฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์แบบหมุนด้วยกลไก อุปกรณ์โซลิดสเตตได้กลายเป็นแพร่หลายในทศวรรษที่ 1950 และ 1960 ในช่วงการเปลี่ยนผ่านจากหลอดสูญญากาศไปเป็น[[ไดโอด]]สารกึ่งตัวนำ, [[ทรานซิสเตอร์]], [[วงจรรวม]] (IC) และ[[ไดโอดเปล่งแสง]] (LED)
 
== แนวคิดทางไฟฟ้า ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไฟฟ้า"