ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาธรรมลังกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
|พระปรมาภิไธย =
|ราชสมภพ = [[พ.ศ. 2289]]
|วันพิราลัยสวรรคต= [[5 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2365]] (77 พรรษา)
|พระอิสริยยศ = พระยาพระเจ้านครเชียงใหม่
|พระบิดา = [[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]]
|พระมารดา= แม่เจ้าจันทาราชเทวี
บรรทัด 20:
|}}
 
'''พระยาพระเจ้าธรรมลังกา'''<ref>วงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่, บรรณาธิการ, [http://opac.payap.ac.th/multi/ref/rft000002.pdf เจ้าหลวงเชียงใหม่], 2539, เชียงใหม่ : คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่</ref> หรือ'''พระญาธัมมลังกาพญาธัมมลังกา''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-King Chang Phueak.png|120px]]}}) ([[พ.ศ. 2289]]- [[พ.ศ. 2365]])<ref>หนานอินแปง. '''พระราชชายา เจ้าดารารัศมี.''' กรุงเทพฯ : บางกอกบุ๊ค, 2546</ref> หรือ '''พระยาเชียงใหม่พระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา''' เป็นพระยาเชียงใหม่องค์ที่ 2 ใน[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]] และเป็นราชบุตรใน[[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว]] โดยพระองค์ได้ร่วมกับพระเชษฐา และพระอนุชาในการต่อสู้อริราชศัตรูจนได้รับสมัญญานามว่า '''"เจ้าเจ็ดตน"'''
 
== พระราชประวัติ ==
พระยาพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกาเป็นเจ้าราชโอรสองค์ที่ 3 ในเจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว เจ้าผู้ครองนครลำปาง กับแม่เจ้าจันทาราชเทวี และเป็นเจ้าราชนัดดา (หลานปู่) ใน[[พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)]] (พระญาสุละวะฤๅไชยสงคราม) กับ แม่เจ้าพิมพาราชเทวี ซึ่งเป็นองค์ปฐมวงศ์ "ราชวงศ์ทิพย์จักร"
 
พระยาพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา เป็นพระอนุชาของ[[พระเจ้ากาวิละ]] มีพระเชษฏา พระอนุชาและพระขนิษฐา รวม 10 พระองค์ (หญิง 3 ชาย 7) (เจ้าชายทั้ง 7 พระองค์ได้ทรงช่วยกันต่อสู้อริราชศัตรูขยายขอบขัณฑสีมาล้านนาออกไปอย่างเกรียงไกร เป็นเหตุให้มีพระสมัญญาว่า "เจ้าเจ็ดตน") มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
 
* [[พระเจ้ากาวิละ]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 1 (นับเป็น "พระเจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 3" ใน "ราชวงศ์ทิพย์จักร")
* [[พระยาคำโสม]] เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 4
* พระยาพระเจ้าธรรมลังกา เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 2
* [[พระเจ้าดวงทิพย์]] เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 5
* [[เจ้าศรีอโนชา]] พระอัครชายาใน[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]
บรรทัด 40:
ในปี [[พ.ศ. 2317]] เมื่อพระเจ้ากาวิละ ร่วมมือกับ[[พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)|พระยาจ่าบ้าน]] และ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] ปลดปล่อยล้านนาจากอำนาจของพม่าได้สำเร็จ พระเจ้ากรุงธนบุรีได้สถาปนาพระยาจ่าบ้านเป็น "[[พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)]]" เจ้าเมืองเชียงใหม่ เจ้ากาวิละเป็นพระยานครลำปาง และแต่งตั้งเจ้าธรรมลังกาเป็นพระยาราชวงศ์เมืองนครลำปาง และได้เลื่อนอิสริยยศเป็น "พระยาอุปราชเมืองเชียงใหม่" ในปี [[พ.ศ. 2348]]
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2359]] พระเจ้ากาวิละถึงแก่พิราลัยสวรรคต พระยาอุปราช (ธรรมลังกา) จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น "พระยาพระเจ้าเชียงใหม่"<ref>[https://th.wikisource.org/wiki/พงศาวดารลาวเฉียง_ของพระยาประชากิจกรจักร_(แช่ม_บุนนาค) พงศาวดารลาวเฉียง ของพระยาประชากิจกรจักร (แช่ม บุนนาค)]</ref> เมื่อวันขึ้น 12 ค่ำ เดือน 9 เหนือ (ตรงกับวันที่ [[27 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2360]]) และอัญเชิญพระยาพระเจ้าลำพูนคำฝั้น (พระอนุชา) มาเป็นพระยาอุปราช และให้พระยาอุปราชบุญมา เป็นพระเจ้าลำพูนไชยสืบแทน
 
พ.ศ. 2359 คราเสด็จไปเฝ้า[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] เพื่อรับพระบรมราชโองการเป็นผู้ครองนครเชียงใหม่ ได้ถวายช้างเผือกแด่รัชกาลที่ 2 จึงได้รับสมัญญาว่า ''พระยาพระเจ้าเชียงใหม่ช้างเผือก''
 
พระยาพระเจ้าช้างเผือกธรรมลังกา ได้ทรงปกครองนครเชียงใหม่อย่างสงบสุข ตราบจนเมื่อวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 8 เหนือ พ.ศ. 2364 (ตรงกับวันที่ [[4 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2365]]) ได้ประชวร และได้ถึงแก่พิราลัยสวรรคตใน[[5 พฤษภาคม|วันรุ่งขึ้น]] รวมพระชนมายุ 77 พรรษา ทรงปกครองนครเชียงใหม่รวมทั้งสิ้น 6 ปี
 
==พระราชโอรส พระราชธิดา==
พระยาพระเจ้าธรรมลังกา มีเจ้าราชโอรสและราชธิดา รวม 17 พระองค์ อยู่ใน[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]] มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
# '''เจ้าหญิงศรีปิมปา'''
# '''[[พระเจ้ามโหตรประเทศ]]''' (นามเดิม เจ้าหนานมหาวงส์) เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 5 เป็นพระอัยกา (ตา) ใน[[เจ้าจอมมารดาทิพเกสร ในรัชกาลที่ 5]] และพระไปยกา (ตาทวด) ใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิสัยนรบดี]] พระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
บรรทัด 69:
{{เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร}}
=== การศาสนา ===
ในรัชสมัยของพระเจ้ากาวิละ ได้ร่วมกับเจ้าน้อยธรรมลังกา และขุนนางไพร่ฟ้าในการสร้างวิหารในวัดอินทขีลที่เวียงป่าซาง และวิหารวัดอินทขีล ในกลางเมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2337 ต่อมาในปี พ.ศ. 2360 เจ้าหลวงธรรมลังกา เห็นว่ากู่ลาย [[วัดพระสิงห์]] ได้ทรุดโทรมลงไปมาก จึงดำรให้มีการซ่อมแซมและขุดแต่งพระเจดีย์ดังกล่าว และได้พบของมีค่าเป็นอันมาก ซึ่งก็ให้บรรจุไว้ในที่เดิมแล้วปฏิสังขรณ์พระเจดีย์นั้นต่อจนเสร็จแล้วจึงมีการฉลองใหญ่ และในปีเดียวกันก็ได้สร้างวิหารจตุรมุขของ[[วัดพระธาตุศรีจอมทอง]]ขึ้นใหม่ โดยทำการยกเสาเมื่อเดือนหกเหนือ ขึ้น 13 ค่ำ ตรงกับวันพฤหัสบดี พร้อมกันนั้นได้สร้างมณฑปของเสาอินทขีล ที่บริเวณวัดเจดีย์หลวง และยังเริ่มก่อสร้างสถูปในที่ท่ามกลางอุโบสถภิกขุนีในวัดพระสิงห์ และได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุในเดือนแปดเหนือ ขึ้น 10 ค่ำ ปี พ.ศ. 2361
 
ในปี พ.ศ. 2362 เจ้าหลวงได้ดำริให้มีการฉลองใหญ่ใน[[วัดอุโมงค์]] [[วัดดวงดี]] วัดสะเพา และวัดพันเท่า ในงานนี้มีการฉลองกันอย่างยิ่งใหญ่ และในเดือนแปดเหนือ ได้ดำริให้ยกเสาวิหารวัดป้านพิง วัดดอกคำ วัดเชียงยืน และวัดบุพผาราม อีกทั้งได้มีการก่อสร้างกำแพงวัดพระธาตุศรีจอมทองด้วย
บรรทัด 84:
 
== ฐานันดรศักดิ์และพระอิสริยยศ ==
* '''พ.ศ. 2289 - 2317''': เจ้าน้อยธัมมลังกาหน้อยธัมมลังกา ณ ลำปาง
* '''พ.ศ. 2317 - 2325''': พระยาราชวงศ์เมืองนครลำปาง
* '''พ.ศ. 2325 - 2359''': พระยาอุปราชเมืองเชียงใหม่