ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำกร่อย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
นี่ไม่แคร์นี่แฟร์
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''น้ำกร่อย''' ({{lang-en|Brackish water}}) คือ[[น้ำทะเล]] (น้ำเค็ม) ผสมกับ[[น้ำจืด]] สามารถพบได้ตามตามปากอ่าวแม่น้ำออกทะเล เช่น [[สมุทรปราการ]] ([[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ออกทะเล) บริเวณ[[สมุทรสาคร]] ([[แม่น้ำท่าจีน]]ออกทะเล) [[สมุทรสงคราม]] ([[แม่น้ำแม่กลอง]]ออกทะเล) โดยทั่วไปแล้ว น้ำกร่อยหรือน้ำทะเลในสภาพปกติมีสภาพเป็น[[ด่าง]]อ่อน ๆ pH ราว 7.3 ไปจนถึง 8.5 เหตุที่น้ำทะเลมีสภาพเป็นด่างอ่อน ๆ เป็นเพราะในน้ำทะเลมีแร่ธาตุหลายชนิด ที่ทำให้น้ำเป็นด่างอ่อน
 
{{น้ำแบ่งตามความเค็ม}}
 
[[เครื่องมือวัดความเค็ม]] เรียก [[ซาลิโนมิเตอร์]] (Salinometer) หรือ รีแฟรกโตซาลิโนมิเตอร์ (Refractosalinometer) วัดโดยใช้หลัก[[การหักเหของแสง]] ยิ่งเค็มมาก ยิ่งหักเหมาก แล้วแปลงไปเป็นสเกลของ ppt (part per thousand = ส่วนในพันส่วน) ซึ่งเป็นหน่วยของค่าความเค็มของน้ำ ความเค็มกับ pH ไม่ได้สัมพันธ์กันโดยตรง เพียงแต่ว่าน้ำทะเลมี pH สูงกว่าน้ำจืด แต่น้ำใน[[นาเกลือ]]ที่มีความเค็มเกิน 100 ppt มีค่า pH ไม่แตกต่างจากน้ำทะเลปกติ (ไม่นับปัจจัยอย่างอื่นที่เข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเช่น ค่า DO หรือ [[คาร์บอนไดออกไซด์]] เป็นต้น)
 
ในบริเวณที่เป็นน้ำกร่อยมี[[สิ่งมีชีวิต]]ทั้งสัตว์และพืชอาศัยอยู่ ซึ่งมีรายละเอียดดังแสดงข้างล่าง
 
== รายชื่อปลาน้ำกร่อย ==