ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำมนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พระสูตรสำคัญกว่าอรรถกถา, ตัดข้อมูลไม่เกี่ยวกับบทความ
บรรทัด 2:
 
== ศาสนาพุทธ ==
ใน[[สามัญญผลสูตร]] [[พระโคตมพุทธเจ้า]]ตรัสถึง''การเลี้ยงชีพด้วยการทำน้ำมนต์''ว่าเป็นติรัจฉานวิชา ดังนี้
 
ใน[[ปรมัตถโชติกา]] พระพุทธเจ้ารับสั่งให้พระอานนท์เรียนท่องจำ'''[[รัตนสูตร]]''' เพื่อใช้เป็นพระ[[ปริตร]] เสกน้ำนำไปประพรมทั่วนคร[[เวสาลี]] ทำให้อมนุษย์ที่สิงอยู่ทั่วเมืองหนีไปหมด ชาวกรุงเวสาลีจึงหายจากโรคระบาด<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=7 อรรถกถา ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ รัตนสูตรในขุททกปาฐะ]</ref>
 
ใน[[สามัญญผลสูตร]] [[พระโคตมพุทธเจ้า]]ตรัสถึง''การเลี้ยงชีพด้วยการทำน้ำมนต์'' ดังนี้
{{คำพูด|...'''ภิกษุเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วย[[ติรัจฉานวิชา]]''' เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้ คือ ทำพิธีบนบาน ทำพิธีแก้บน ร่ายมนต์ขับผี สอนมนต์ป้องกันบ้านเรือน ทำกะเทยให้กลับเป็นชาย ทำชายให้กลายเป็นกะเทย ทำพิธีปลูกเรือน ทำพิธีบวงสรวงพื้นที่ '''พ่นน้ำมนต์ รดน้ำมนต์''' ทำพิธีบูชาไฟ ปรุงยาสำรอก ปรุงยาถ่าย ปรุงยาถ่ายโทษเบื้องบน ปรุงยาถ่ายโทษเบื้องล่าง ปรุงยาแก้ปวดศีรษะ หุงน้ำมันหยอดหู ปรุงยานัตถุ์ ปรุงยาทากัด ปรุงยาทาสมาน ป้ายยาตา ทำการผ่าตัด รักษาเด็ก ใส่ยา ชะแผล แม้ข้อนี้ก็เป็น[[ศีล]]ของเธอประการหนึ่ง...<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=9&A=1072&Z=1919&pagebreak=0#120 สามัญญผลสูตร], พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค</ref>}}
 
*คำว่า [[เดรัจฉาน]] หมายถึง ผู้ไปขวางจากมรรคผล, [[วิชา]] แปลว่า ความรู้ความสามารถ ดังนั้นคำว่า เดรัจฉานวิชา จึงเป็นคำกลาง หมายถึงความรู้ทางโลกทั่วไปที่ไม่เป็นไปเพื่อการเจริญมรรคผล
*ไม่มีพระสูตรใดห้ามภิกษุทำน้ำมนต์เพื่อประโยชน์ส่วนรวม
 
ใน[[ปรมัตถโชติกา]] กล่าวว่าพระพุทธเจ้ารับสั่งให้พระอานนท์เรียนท่องจำ'''[[รัตนสูตร]]''' เพื่อใช้เป็นพระ[[ปริตร]] เสกน้ำนำไปประพรมทั่วนคร[[เวสาลี]] ทำให้อมนุษย์ที่สิงอยู่ทั่วเมืองหนีไปหมด ชาวกรุงเวสาลีจึงหายจากโรคระบาด<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=7 อรรถกถา ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ รัตนสูตรในขุททกปาฐะ]</ref>
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}