ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำมนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 6472686 สร้างโดย 208.66.24.66 (พูดคุย)
บรรทัด 1:
'''น้ำมนต์''' หรือ '''น้ำมนตร์''' หมายถึง นํ้าที่เสกเพื่อใช้อาบ กิน หรือประพรม เป็นต้น ถือกันว่าเป็นมงคล<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-56-9|จำนวนหน้า = 1,544|หน้า=628}}</ref> การทำน้ำมนต์พบเห็นได้ทั่วไปในหลายศาสนา เช่น [[ศาสนาพุทธ]] [[ศาสนาคริสต์]] [[ศาสนาฮินดู]] เป็นต้น
 
== น้ำมนต์ในศาสนาพุทธ ==
ใน[[สามัญญผลสูตร]] [[พระโคตมพุทธเจ้า]]ตรัสถึง''การเลี้ยงชีพด้วยการทำน้ำมนต์''ว่าเป็นติรัจฉานวิชา ดังนี้
 
น้ำมนต์ในพระพุทธศาสนา ถือว่าทำได้ หากไม่ใช่การทำเพื่อการเลี้ยงชีพ เป็นการทำเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
{{คำพูด|...'''ภิกษุเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วย[[ติรัจฉานวิชา]]''' เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์ ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้ คือ ทำพิธีบนบาน ทำพิธีแก้บน ร่ายมนต์ขับผี สอนมนต์ป้องกันบ้านเรือน ทำกะเทยให้กลับเป็นชาย ทำชายให้กลายเป็นกะเทย ทำพิธีปลูกเรือน ทำพิธีบวงสรวงพื้นที่ '''พ่นน้ำมนต์ รดน้ำมนต์''' ทำพิธีบูชาไฟ ปรุงยาสำรอก ปรุงยาถ่าย ปรุงยาถ่ายโทษเบื้องบน ปรุงยาถ่ายโทษเบื้องล่าง ปรุงยาแก้ปวดศีรษะ หุงน้ำมันหยอดหู ปรุงยานัตถุ์ ปรุงยาทากัด ปรุงยาทาสมาน ป้ายยาตา ทำการผ่าตัด รักษาเด็ก ใส่ยา ชะแผล แม้ข้อนี้ก็เป็น[[ศีล]]ของเธอประการหนึ่ง...<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=9&A=1072&Z=1919&pagebreak=0#120 สามัญญผลสูตร], พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค</ref>}}
 
{{คำพูด| ดังนั้น ในวันที่พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จถึงกรุงเวสาลีนั่นเอง รัตนสูตรนี้ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสใกล้ประตูกรุงเวสาลี เพื่อกำจัดอุปัทวะเหล่านั้น ท่านพระอานนท์ก็เรียนเอา เมื่อจะกล่าวเพื่อเป็นปริตร [ป้องกันอุปัทวะ] จึงเอาบาตรของพระผู้มีพระภาคเจ้าตักน้ำมา เดินประพรมไปทั่วพระนคร. พอพระเถระกล่าวว่า ยงฺกิฺจิ เท่านั้น พวกอมนุษย์ที่อาศัยกองขยะและที่ฝาเรือนเป็นต้น ซึ่งยังไม่หนีไปในตอนแรก ก็พากันหนีไปทางประตูทั้ง ๔. ประตูทั้งหลายก็ไม่มีที่ว่าง อมนุษย์บางพวก เมื่อไม่ได้ที่ว่างที่ประตูทั้งหลาย ก็ทลายกำแพงเมืองหนีไป. พอพวกอมนุษย์พากันไปแล้ว ที่เนื้อตัวของพวกมนุษย์ทั้งหลาย โรคก็สงบไป พวกมนุษย์ทั้งหลายก็พากันออกมาบูชาพระเถระด้วยดอกไม้ของหอมเป็นต้นทุกอย่าง มหาชนเอาของหอมทุกอย่างฉาบทาสัณฐาคารที่ประชุม ท่ามกลางพระนคร ทำเพดานขจิตด้วยรัตนะ ประดับด้วยเครื่องประดับทั้งปวง ปูพุทธอาสน์ลง ณ ที่นั้นแล้วนำเสด็จพระผู้มีพระภาคเจ้ามา. ...}}
 
อ้างอิงจาก
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=7
 
 
แต่หากทำเพื่อเลี้ยงชีพถือว่าภิกษุผิดพระวินัย พุทธบัญญัติบางส่วนกล่าวไว้ดังนี้
 
{{คำพูด|... ภิกษุเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพ โดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างสมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวก ฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เห็นปานนี้ คือ ทายอวัยวะ ทายนิมิต ทายอุปบาต ทำนายฝัน ทำนายลักษณะทำนายหนูกัดผ้า ทำพิธีบูชาไฟ ทำพิธีเบิกแว่นเวียนเทียน ทำพิธีซัดแกลบบูชาไฟ ทำพิธีซัดรำบูชาไฟ ทำพิธีซัดข้าวสารบูชาไฟ ทำพิธีเติมเนยบูชาไฟ ทำพิธีเติมน้ำมันบูชาไฟ ทำพิธีเสกเป่าบูชาไฟ ทำพลีกรรมด้วยโลหิต เป็นหมอดูอวัยวะ ดูลักษณะที่บ้าน ดูลักษณะที่นา เป็นหมอปลุกเสก เป็นหมอผี เป็นหมอลงเลขยันต์คุ้มกันบ้านเรือน เป็นหมองู เป็นหมอยาพิษเป็นหมอแมลงป่อง เป็นหมอรักษาแผลหนูกัด เป็นหมอทายเสียงนก เป็นหมอทายเสียงกาเป็นหมอทายอายุ เป็นหมอเสกกันลูกศร เป็นหมอทายเสียงสัตว์ แม้ข้อนี้ก็เป็นศีลของเธอประการหนึ่ง ...}}
 
 
สำหรับคำว่า "เดรัจฉานวิชา" ในทางพุทธศาสนา ไม่ได้หมายความว่าเป็นอาชีพต่ำทราม แต่หมายถึงอาชีพทางโลกทั่วไป อิงได้จากพระสูตรเดียวกัน แม้แต่หมอรักษาโรค ท่านก็เรียกเดรัจฉานวิชาด้วย
 
{{คำพูด|"๗. ภิกษุเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา เช่นอย่างที่สมณพราหมณ์
ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชา
เห็นปานนี้ คือ ทำพิธีบนบาน ทำพิธีแก้บน ร่ายมนต์ขับผี สอนมนต์ป้องกันบ้านเรือน
ทำกะเทยให้กลับเป็นชาย ทำชายให้กลายเป็นกะเทย ทำพิธีปลูกเรือน ทำพิธีบวงสรวงพื้นที่
พ่นน้ำมนต์ รดน้ำมนต์ ทำพิธีบูชาไฟ ปรุงยาสำรอก ปรุงยาถ่าย ปรุงยาถ่ายโทษเบื้องบน
ปรุงยาถ่ายโทษเบื้องล่าง ปรุงยาแก้ปวดศีรษะ หุงน้ำมันหยอดหู ปรุงยานัตถุ์ ปรุงยาทากัด
ปรุงยาทาสมาน ป้ายยาตา ทำการผ่าตัด รักษาเด็ก ใส่ยา ชะแผล แม้ข้อนี้ก็เป็นศีลของเธอ
ประการหนึ่ง."}}
 
จะเห็นว่า การปรุงยาถ่าย ยาแก้ปวดหัว หุงน้ำมัหยอดหู ยาทา หมอผ่าตัด ก็ถูกจัดรวมเช่นกัน ง่ายๆคืออาชีพทางโลกทุกอย่าง คือเดรัจฉานวิชาในความหมายของพระพุทธเจ้า ดังนั้นคำว่าเดรัจฉานวิชาไม่ใช่คำด่าแต่ประการใด
 
อ้างอิงจาก
http://www.84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=9&item=320&items=1&preline=0&mode=bracket
 
- (ไทย) ที.สี. ๙ / ๑๑๔ / ๖๔
 
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ|ป]]
[[หมวดหมู่:ไสยศาสตร์|ป]]
[[หมวดหมู่:เวทมนตร์|ป]]
[[หมวดหมู่:ความเชื่องมงาย|ป]]
 
ใน[[ปรมัตถโชติกา]] กล่าวว่าพระพุทธเจ้ารับสั่งให้พระอานนท์เรียนท่องจำ'''[[รัตนสูตร]]''' เพื่อใช้เป็นพระ[[ปริตร]] เสกน้ำนำไปประพรมทั่วนคร[[เวสาลี]] ทำให้อมนุษย์ที่สิงอยู่ทั่วเมืองหนีไปหมด ชาวกรุงเวสาลีจึงหายจากโรคระบาด<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=7 อรรถกถา ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ รัตนสูตรในขุททกปาฐะ]</ref>
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}