ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาพิมพิสารราชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
|ครองราชย์ = [[พ.ศ. 2490]] – [[พ.ศ. 2429]]<ref name="เจ้านาย">{{หนังสือ| ผู้แต่ง = วรชาติ มีชูบท| ชื่อหนังสือ = เจ้านายฝ่ายเหนือและตำนานรักมะเมียะ| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สร้างสรรค์บุ๊คส์| ปี = 2556| ISBN = 978-616-220-054-0| จำนวนหน้า = 428| หน้า = 20}}</ref>
|รัชกาลก่อนหน้า = [[พระยาอินทวิไชย]]
|รัชกาลถัดมา = [[เจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์พิริยเทพวงษ์]]
|ฐานันดร = พระยา
|วันประสูติ = [[พ.ศ. 2356]]
บรรทัด 18:
|พระมารดา = แม่เจ้าปิ่นแก้ว
|มารดา =
|พระชายา = [[แม่เจ้าแก้วไหลมาราชเทวี]]ราชเทวี
|ชายา = แม่เจ้าธิดา<br>แม่เจ้าคำใย้
|หม่อม =
บรรทัด 30:
 
==พระประวัติ==
พระยาพิมสารราชา หรือ '''เจ้าหลวงพิมพิสารขาเค'''<ref name="เจ้านาย"/> ([[พ.ศ. 2356]] – [[พ.ศ. 2429]]) <ref name="เจ้านาย"/> มีพระนามเดิมว่า เจ้าพิมพิสาร เป็นโอรสของพระยาวังขวา (เฒ่า) กับเจ้าปิ่นแก้ว ซึ่งพระราชพงศาวดารรัชกาลที่ 4 ระบุว่าเป็นน้องสาวพระยาแสนซ้าย (บิดา[[พระยาศรีสุริยวงศ์ (มังไชย)]]) '''''แต่ในหนังสือเชื้อสายเจ้าหลวงเมืองแพร่ 4 องค์สุดท้ายได้กล่าวว่า...เจ้าปิ่นแก้วเป็นราชธิดา[[พระยาเทพวงศ์]] เป็นขนิษฐาพระยาอินทวิไชย ดังนั้นพระยาพิมพิสารจึงมีศักดิ์เป็นหลานลุงของ[[พระยาอินทวิไชย]]...''''' <ref>หมู่บ้าน วังฟ่อน. ประวัติเจ้าหลวงพิมพิสาร</ref>

เจ้าพิมพิสารได้รับราชการมีบรรดาศักดิ์เป็น''พระยาราชวงศ์'' เมื่อพระยาอินทวิไชยผู้เป็นปิตุลาถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. 2390 [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงโปรดเกล้าฯ ตั้งเป็น''พระยาแพร่'' ขณะมีชนมายุ 34 ชันษา เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ขึ้นครองราชย์ พระยาพิมพิสารไม่ลงไปเข้าเฝ้า จึงไม่ได้รับพระราชทานนามใหม่ขึ้นเป็นเจ้าอย่างเจ้านครเชียงใหม่ เจ้านครลำพูน เจ้านครลำปาง และเจ้านครเมืองน่าน<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)| ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑-๔| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2555| ISBN = 978-616-7146-30-0| จำนวนหน้า = 2,136| หน้า = 1559}}</ref>
 
พระยาพิมพิสาร เป็นเจ้าเมืองที่ปลูกฝังนิสัยเรื่องการประหยัด และการรู้จักประมาณตนแก่ชาวเมืองแพร่เป็นอย่างดี ดังมีเรื่องเล่ากันว่า หม้อน้ำที่ท่านตั้งไว้ข้างถนนสำหรับผู้สัญจรนั้น จะมีกระบวยใหญ่และกระบวยเล็กอย่างละ 1 อัน หากใครใช้กระบวยใหญ่ตักดื่มน้ำแล้ว เทน้ำที่เหลือทิ้ง หรือใช้กระบวยเล็กตักดื่มซ้ำเมื่อไม่อิ่ม ต่างก็โดนก๋งยิง (เป็นอาวุธที่ใช้ลูกหินขนาดเล็กเป็นกระสุนสามารถทำให้เจ็บตัวหรือเป็นแผลได้) ด้วยเหตุผลที่ว่าไม่รู้จักประมาณตนเอง หรือไม่ประหยัด นอกจากนี้เจ้าหลวงพิมพิสารยังมีกิจการค้าไม้สัก ทำรายได้เข้าเมืองแพร่นับหลายล้านบาทต่อปี ทำให้เศรษฐกิจในเมืองแพร่มีความต่อเนื่องและเป็นไปได้ดี<ref name="เจ้าหลวง"/>
 
พระยาพิมพิสาร ถึงแก่พิราลัยเวลาบ่าย 5 โมง แรม 7 ค่ำ เดือน 11 ปีจอ พ.ศ.2429 ชนมายุชันษา 73 ชันษาปี
 
== ชายา โอรส และธิดา==