ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไสว ไสวแสนยากร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 38:
พลตำรวจเอกไสวเป็นจเรทหารสื่อสารในช่วงปี 2489-2490 ก่อนจะขึ้นเป็นเจ้ากรมทหารสื่อสารช่วงปี 2490-2494 ได้ขึ้นเป็น[[แม่ทัพภาคที่ 2]] ช่วงปี 2494-2497 ขึ้นเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบกช่วงปี 2497-2500 พร้อมกับรับพระราชทานยศพลเอก
 
หลังเหตุการณ์รัฐประหาร 16 กันยายน 2500 พลเอกไสวได้โอนย้ายมารับราชการตำรวจในตำแหน่ง [[อธิบดีกรมตำรวจ]] แทน [[พลตำรวจเอกเผ่า ศรียานนท์]] เมื่อวันที่ [[21 กันยายน]] [[พ.ศ. 2500]] <ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/D/074079/3.PDF ราชกิจจานุเบกษา ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งข้าราชการ] เล่ม 74 ตอน 79 ง พิเศษ หน้า 3 21 กันยายน พ.ศ. 2500 </ref> พร้อมกับได้รับพระราชทานยศพลตำรวจเอกเมื่อวันที่ [[30 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2500]] <ref> ราชกิจจานุเบกษา[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/D/098/2735.PDF ประกาศสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานยศตำรวจ] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 74 ตอน 98 ง หน้า 2735 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 </ref> แต่ดำรงตำแหน่งได้เพียง 2 ปีก็ถูกโอนให้ไปดำรงตำแหน่ง [[ผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทย]] เมื่อวันที่ [[9 กันยายน]] [[พ.ศ. 2502]] โดย [[จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] [[นายกรัฐมนตรี]] [[ผู้บัญชาการทหารสูงสุด]] และ [[ผู้บัญชาการทหารบก]] ได้มารักษาราชการในตำแหน่งอธิบดีกรมตำรวจอีกตำแหน่งหนึ่ง <ref> ราชกิจจานุเบกษา[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2502/D/098/2157.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้อธิบดีกรมตำรวจพ้นตำแหน่งหน้าที่และตั้งผู้รักษาการแทน] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 76 ตอน 98 ง หน้า 2157 15 กันยายน พ.ศ. 2502 </ref>
 
== งานการเมือง ==