ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝ้าย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nuvivi (คุย | ส่วนร่วม)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
Nuvivi (คุย | ส่วนร่วม)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 24:
 
ลักษณะทางพฤษกศาสตร์
<gallery>
[[ไฟล์:Http://nammorndesign.com/wp-content/uploads/2014/07/NammornCotton1.jpg|thumb]]
http://www.chaimongkol.net/site/images/aboutus/cotton_01.jpg|ผลฝ้าย หรือ สมอฝ้าย
[[ไฟล์:Http://sv5.postjung.com/imgcache/data/718/718982-img-1383493987-2.jpg|thumb]]
http://frynn.com/wp-content/uploads/2014/11/%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A7.jpg|ดอกฝ้ายขาว
[[ไฟล์:Http://share.psu.ac.th/system/assets/media/files/000/003/260/original DSC03202.JPG?1306826965|thumb]]
</gallery>
ฝ้ายจัดเป็นไม้ต้นขนาดเล็กหรือไม้พุ่มขนาดกลาง แต่ในทางการเกษตร จะจัดเป็นประเภทพืชล้มลุก เนื่องจากต้นฝ้ายที่มีอายุ 2-3 ปี มักให้ผลผลิตน้อยทำให้ต้องทำการเพาะปลูใหม่ทุกปี เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ สูงประมาณ 2-5 ฟุต แตกกิ่งเวียนรอบต้น มักมีขนสั้นปกคลุมบางๆที่ลำต้น <ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&chap=3&page=t3-3-infodetail04.html</ref> ''ใบ'' เกิดที่ข้อของลำต้น ก้านใบยาวเท่ากับความกว้างของใบ<ref>http://202.28.48.140/isaninfo/?p=193</ref> แต่สั้นกว่าแผ่นใบ ใบเดี่ยว หยักเป็น 3, 5 หรือ 7 พู พูรูปไข่ถึงรูปใบหอก<ref>http://www.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id=%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2</ref> มักมีขนสั้นคลุมบางๆที่ก้านใบและใต้ใบ<ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&chap=3&page=t3-3-infodetail04.html</ref>
 
หูใบยาว 1-5 เซนติเมตร รูปกึ่งสามเหลี่ยม<ref>http://www.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id=%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2</ref>
ฝ้ายจัดเป็นไม้ต้นขนาดเล็กหรือไม้พุ่มขนาดกลาง แต่ในทางการเกษตร จะจัดเป็นประเภทพืชล้มลุก เนื่องจากต้นฝ้ายที่มีอายุ 2-3 ปี มักให้ผลผลิตน้อยทำให้ต้องทำการเพาะปลูใหม่ทุกปี เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ สูงประมาณ 2-5 ฟุต แตกกิ่งเวียนรอบต้น มักมีขนสั้นปกคลุมบางๆที่ลำต้น <ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&chap=3&page=t3-3-infodetail04.html</ref> ''ใบ'' เกิดที่ข้อของลำต้น ก้านใบยาวเท่ากับความกว้างของใบ<ref>http://202.28.48.140/isaninfo/?p=193</ref> แต่สั้นกว่าแผ่นใบ ใบเดี่ยว หยักเป็น 3, 5 หรือ 7 พู พูรูปไข่ถึงรูปใบหอก<ref>http://www.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id=%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2</ref> มักมีขนสั้นคลุมบางๆที่ก้านใบและใต้ใบ<ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&chap=3&page=t3-3-infodetail04.html</ref> หูใบยาว 1-5 เซนติเมตร รูปกึ่งสามเหลี่ยม<ref>http://www.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id=%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2</ref>
''ดอก'' ดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ<ref>http://www.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id=%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2</ref> ดอกอ่อน หรือเรียกว่า "ปี้" (bud or aquare) ถูกหุ้มด้วยใบเลี้ยง 3 ใบ ประกบเป็นสามเหลี่ยม ดอกบานกว้างประมาณ 3 นิ้ว มี 5 กลีบดอก เรียงซ้อนกัน สีขาวนวลถึงเหลือง ตอนบ่ายดอกจะกลายเป็นสีชมพูจนถึงแดงและค่อยๆหุบ<ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&chap=3&page=t3-3-infodetail04.html</ref> ดอกจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงหลังจากบานประมาณ 2-3 วัน<ref>http://202.28.48.140/isaninfo/?p=193</ref> ก้านเกสรเพศผู้เชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว 2-5 เซนติเมตร ก้านเกสรเพศเพศเมียสอดอยู่ในหลอดก้านเกสรเพศผู้ <ref>http://www.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id=%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2</ref> รังไข่มี 3-4 ห้อง หรือ 4-5 ห้อง แล้วแต่ชนิด (species) <ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&chap=3&page=t3-3-infodetail04.html</ref> ''ผล'' ผลแห้งแตก รูปไข่แคบๆ ปลายแคบแหลม เกลี้ยง<ref>http://www.sc.mahidol.ac.th/wiki/doku.php?id=%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A2</ref> ยาวประมาณ 4-5 เซนติเมตร ภายในแบ่งออกเป็นช่องเท่ากับจำนวนช่องในรังไข่ ผลฝ้าย เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "สมอฝ้าย" สมอฝ้ายจะปริออกเมื่อแก่ และดันเมล็ดซึ่งห่อหุ้มด้วยปุยเส้นใยสีขาว (lint) และเส้นใยสั้น (fuzz fibers) ออกมา<ref>http://202.28.48.140/isaninfo/?p=193</ref>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฝ้าย"