ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาพุทธวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
}}
 
'''พระยากากะวรรณาธิบดี'''<ref>รุ่งพงษ์ ชัยนาม. '''ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโกาสได้ศึกษา'''. [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]</ref> หรือ '''พระยาพุทธวงศ์''' เป็น[[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]] องค์ที่ 4 ระหว่างปี พ.ศ. 2368 - พ.ศ. 2389 แห่ง[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]] และเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการรวบรวมผู้คนมาเป็นประชากรของเมืองเชียงใหม่ ในรัชสมัยของ[[พระเจ้ากาวิละ]]
 
== พระราชประวัติ ==
พระยาพุทธวงศ์ หรือ เจ้าหลวงแผ่นดินเย็น<ref name="เจ้าหลวงเชียงใหม่"/> เป็นเจ้าโอรสองค์โตของ'''นายพ่อเรือน''' พระราชอนุชาใน[[เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว ]] ผู้ครองนครลำปางกับ แม่เจ้าจันทาราชเทวี และเป็นเจ้าราชนัดดา (หลานปู่) ใน[[พระยาไชยสงคราม (ทิพย์ช้าง)]] (พระญาสุละวะฤๅไชยสงคราม) กับ แม่เจ้าพิมพาราชเทวี ซึ่งเป็นองค์ปฐมวงศ์ "ต้นราชวงศ์ทิพย์จักร (เชื้อเจ้าเจ็ดตน) "
 
พระยาพุทธวงศ์ มีพระอนุชาและพระขนิษฐา รวม 5 พระองค์ มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
* '''พระยาพุทธวงศ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 4'''
* '''[[เจ้าราชวงศ์ (คำมูล)]], เจ้าราชวงศ์นครเชียงใหม่''' - เจ้าปู่ใน "เจ้าราชสัมพันธ์วงศ์ หนานธรรมลังกา ณ เชียงใหม่, เจ้าราชสัมพันธ์วงศ์นครเชียงใหม่" และเป็นเจ้าปู่ทวดใน "แม่เจ้าส่วนบุญจักรคำขจรศักดิ์, เทวีใน พลตรี [[เจ้าจักรคำขจรศักดิ์, เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 10"]]
* '''[[เจ้าบุรีรัตน์ (กาวิละ)]], เจ้าบุรีรัตน์นครเชียงใหม่''' - เจ้าบิดาใน "เจ้าหญิงศรีแก้ว (ณ ลำปาง) ณ เชียงตุง" ชายาใน ""เจ้ามหาพรหม ณ เชียงตุง" ราชโอรส องค์ที่ 6 ใน "เจ้าฟ้าชายสามจุฬามณีสิริเมฆภูมินทร์, เจ้าผู้ครองนครเชียงตุง องค์ที่ 1"
* '''[[เจ้าคำลือ]]'''
* '''[[เจ้าหญิงสนธนา]]''' - ชายาใน "[[เจ้าพระยาอุปราชหมูหล้าล่า]] พระราชมหาอุปราชานราธิบดีศรีสุวรรณฝ่ายหน้าหอคำนครลำปาง"
 
เจ้าพุทธวงศ์ ได้รับการสถาปนาเป็น '''"เจ้าพระยาอุปราชพุทธวงศ์"''' เมื่อปี [[พ.ศ. 2365]]<ref>[http://www.chiangmainews.co.th/chaingmai/comefun.html พระญาคำฝั้น เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 3]</ref> สืบต่อจากเจ้าพระยาอุปราชคำฝั้น ซึ่งได้รับการสถาปนาเป็นพระยานครเชียงใหม่
 
พระยาพุทธวงศ์ ถึงแก่พิราลัยเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2389
บรรทัด 46:
* '''เจ้าหน่อแก้ว'''
* '''เจ้าหญิงศิริวรรณา'''
* '''เจ้าหญิงสุนันทา สุริโยดร''' - เจ้ามารดาใน "เจ้านิเวศน์อุดร (น้อยบุญปั๋น สุริโยดร,) เจ้านิเวศน์อุดรแห่งนครเชียงใหม่" นับเป็นต้นราชตระกูล "สุริโยดร" เนื่องจาก "ขุนบรรณสารโลหะกรรม (เจ้าน้อยอินทร์ทอง สุริโยดร) " เจ้านัดดา (หลานยาย) ของเจ้าหญิงฯ ขอพระราชทานนามสกุล จาก ร.6
 
== การครองเมืองเชียงใหม่ ==
บรรทัด 56:
'''ด้านการศึกษา''' ในช่วงแรกยังเป็นการศึกษาในรูปแบบเดิมคือการฝึกอาชีพหรือการดำรงชีวิตตามความชำนาญในครอบครัว หรือเรียนตามสนใจของแต่ละคน ส่วนการศึกษาที่เป็นระบบนั้น จะเป็นรูปแบบของการเรียนในวัด ซึ่งไม่แตกต่างไปจากรัชสมัยของพระเจ้ากาวิละ แต่ที่แตกต่างอย่างชัดเจนคือ จำนวนวัด และจำนวนพระสงฆ์เพิ่มมากขึ้น และมีการคัดลอกคัมภีร์ใบลานต่างๆ มากขึ้นตามไปด้วย
 
โดยรวมแล้วในรัชสมัยของพระยาพุทธวงศ์ เป็นช่วงที่นครเชียงใหม่มีความเจริญและรับรู้ถึงชนชาติอื่นและการเปลี่ยนแปลงของโลกมากขึ้น มีการสัมพันธ์กับอังกฤษ และรู้จักการบริหารที่ไม่ใช้กำลังในการทำศึกสงคราม นับเป็นจุดเปลี่ยนของนครเชียงใหม่ เข้าสู่กระแสการบริหารและการเศรษฐกิจของโลก<ref name="เจ้าหลวงเชียงใหม่">เจ้าวงศ์สัก ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่. '''เจ้าหลวงเชียงใหม่'''. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.</ref>
 
== ราชตระกูล ==
บรรทัด 104:
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
 
; บรรณานุกรม
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. '''เพ็ชร์ล้านนา'''. (ครั้งที่ 2) เชียงใหม่ :ผู้จัดการ ศูนย์ภาคเหนือ, 2538.
* สมหมาย เปรมจิตต์, สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. '''ตำนานสิบห้าราชวงศ์ (ฉบับสอบชำระ) '''. เชียงใหม่: มิ่งเมือง, 2540.
* เจ้าวงศ์สัก ณ เชียงใหม่, คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่. '''เจ้าหลวงเชียงใหม่'''. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2539.
* คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์, นาวาอากาศเอก. '''เจ้านายฝ่ายเหนือ'''. [http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna.html]
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เริ่มกล่อง}}
เส้น 125 ⟶ 128:
 
{{เรียงลำดับ|พุทธวงศ์}}
{{อายุขัย||2389}}
{{ประสูติปี|}}
{{สิ้นพระชนม์ปี|2389}}
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]]
[[หมวดหมู่:ราชโอรสและราชธิดาในเจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 2]]