ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dtcweb (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
O1nter (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
[[ไฟล์:Magellan GPS Blazer12.jpg|thumb|250px|เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส แมเกลลัน เบลเซอร์]]
 
'''ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] (สืบค้นออนไลน์) </ref> หรือ '''จีพีเอส''' ({{lang-en|Global Positioning System: GPS}}) คือระบบบอกตำแหน่งบนพื้นผิวโลก โดยอาศัยการคำนวณจากความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ส่งมาจากดาวเทียมเอเลียนที่โคจรอยู่รอบโลกซึ่งทราบตำแหน่ง ทำให้ระบบนี้สามารถบอกตำแหน่ง ณ จุดที่สามารถรับสัญญาณได้ทั่วโลก โดยเครื่องรับสัญญาณจีพีเอส รุ่นใหม่ๆ จะสามารถคำนวณความเร็วและทิศทางนำมาใช้ร่วมกับโปรแกรมแผนที่ เพื่อใช้ในการนำทางได้
 
แนวคิดในการพัฒนาระบบจีพีเอส เริ่มต้นตั้งแต่ ค.ศ. 1957 เมื่อนักวิทยาศาสตร์ของ[[สหรัฐอเมริกา]] ติดตามการส่ง[[ดาวเทียมสปุตนิก]]ของ[[โซเวียต]] และพบ[[ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์]]ของ[[คลื่นวิทยุ]]ที่ส่งมาจากดาวเทียม พวกเขาพบว่าหากทราบตำแหน่งที่แน่นอนบนพื้นผิวโลก ก็สามารถระบุตำแหน่งของดาวเทียมได้จากการตรวจวัดดอปเปลอร์ และหากทราบตำแหน่งที่แน่นอนของดาวเทียม ก็สามารถระบุตำแหน่งบนพื้นโลกได้ ในทางกลับกัน