ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Hudsuwa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{ระวังสับสน|ปฏิวัติ}}
'''รัฐประหาร''' ({{lang-fr|coup d'état}} ''กูเดดาอีตา'') เป็นการใช้กำลังยึดอำนาจและเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอย่างฉับพลันและไม่ชอบด้วยกฎหมาย<ref>{{cite book|author1=International Academy of Comparative Law|author2=American Association for the Comparative Study of Law|title=Legal thought in the United States of America under contemporary pressures: Reports from the United States of America on topics of major concern as established for the VIII Congress of the International Academy of Comparative Law|url=https://books.google.com/books?id=R-A8AQAAIAAJ|year=1970|publisher=Émile Bruylant|page=509|quote=But even if the most laudatory of motivations be assumed, the fact remains that the coup d'état is a deliberately illegal act of the gravest kind and strikes at the highest level of law and order in society ...}}</ref><ref>{{cite book|author=Luttwak, Edward |title=Coup d'État: A Practical Handbook|url=https://books.google.com/books?id=K5OnWYLhQBAC&pg=PA172|date=1 January 1979|publisher=Harvard University Press|isbn=978-0-674-17547-1|page=172|quote=Clearly the coup is by definition illegal}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.auburn.edu/~johnspm/gloss/coup_d_etat |title=A Glossary of Political Economy Terms" Coup d'etat |publisher=Auburn University |accessdate=23 November 2014 |quote=A quick and decisive extra-legal seizure of governmental power by a relatively small but highly organized group of political or military leaders ...}}</ref> ปกติเกิดจากสถาบันของรัฐที่มีอยู่เดิมขนาดเล็กเพื่อโค่นรัฐบาลซึ่งเป็นที่ยอมรับแล้วเปลี่ยนเป็นองค์การปกครองใหม่ ไม่ว่าเป็นพลเรือนหรือทหาร รัฐประหารพิจารณาว่าสำเร็จแล้วเมื่อผู้ยึดอำนาจสถาปนาภาวะครอบงำ รัฐประหารไม่จำเป็นต้องเกิดความรุนแรงหรือเสียเลือดเนื้อ [[ศาลฎีกา]]ตีความว่า รัฐประหารมิได้ขัดต่อกฎหมาย เพราะ "กฎหมายคือคำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์"<ref>[http://www.law.chula.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=144%3Aarticle009&catid=80%3Alaw005&lang=th คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]</ref>
 
== นิยาม ==