ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิวเคลียสของอะตอม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Fanclub25 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
{{ฟิสิกส์นิวเคลียร์1}}
[[ไฟล์:Nucleus drawing.svg|thumb|right|แบบจำลองของนิวเคลียสของอะตอมแสดงกล่มก้อนอัดแน่นของ[[นิวคลีออน]] 2 ชนิดคือ [[โปรตอน]] (สีแดง) และ [[นิวตรอน]] (สีน้ำเงิน) ในแผนภาพนี้ โปรตอนและนิวตรอนเหมือนลูกบอลที่หลอมติดอยู่ด้วยกัน แต่นิวเคลียสที่แท้จริง (ตามความเข้าใจของ[[ฟิสิกส์นิวเคลียร์]]สมัยใหม่) ไม่สามารถอธิบายแบบนี้ แต่ต้องใช้[[กลศาสตร์ควอนตัม]]เท่านั้น ในนิวเคลียสที่ครอบครองระดับพลังงานหนึ่ง (เช่นในสภาวะล่างสุด ({{lang-en|ground state}})) แต่ละนิวคลีออนสามารถพูดได้ว่าครอบครองช่วงหนึ่งของตำแหน่ง]]
'''นิวเคลียสนิวเครียด''' ของ[[อะตอม]] ({{lang-en|Atomic nucleus}}) เป็นพื้นที่ขนาดเล็กที่หนาแน่นในใจกลางของอะตอม ประกอบด้วย[[โปรตอน]] และ[[นิวตรอน]] (สำหรับอะตอมของไฮโดรเจนธรรมดา นิวเคลียสมีแต่โปรตอนเท่านั้น ไม่มีนิวตรอน) นิวเคลียสถูกค้นพบในปี 1911 โดย[[เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด]] ที่ได้จาก'การทดลองฟอยล์สีทองของ Geiger-Marsden ในปี 1909'. หลังจากการค้นพบนิวตรอนในปี 1932 แบบจำลองของนิวเคลียสที่ประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็วโดย Dmitri Ivanenko<ref>Iwanenko, D.D., The neutron hypothesis, Nature '''129''' (1932) 798.</ref> และเวอร์เนอร์ ไฮเซนเบิร์ก<ref>{{cite journal |last=Heisenberg |first=W. |title=Über den Bau der Atomkerne. I |journal=[[Z. Phys.]] |volume=77 |pages=1–11 |year=1932 |doi=10.1007/BF01342433 |bibcode = 1932ZPhy...77....1H }}</ref><ref>{{cite journal |last=Heisenberg |first=W. |title=Über den Bau der Atomkerne. II |journal=Z. Phys. |volume=78 |pages=156–164 |year=1932 |doi=10.1007/BF01337585 |issue=3–4 |bibcode = 1932ZPhy...78..156H }}</ref><ref>{{cite journal |last=Heisenberg |first=W. |title=Über den Bau der Atomkerne. III |journal=Z. Phys. |volume=80 |pages=587–596 |year=1933 |doi=10.1007/BF01335696 |issue=9–10 |bibcode = 1933ZPhy...80..587H }}</ref><ref>Miller A. I. ''Early Quantum Electrodynamics: A Sourcebook'', Cambridge University Press, Cambridge, 1995, ISBN 0521568919, pp. 84–88.</ref><ref>{{cite book |author= Bernard Fernandez and Georges Ripka|title=Unravelling the Mystery of the Atomic Nucleus: A Sixty Year Journey 1896 — 1956 |chapter=Nuclear Theory After the Discovery of the Neutron |chapterurl=http://books.google.com/books?id=4PxRBakqFIUC&pg=PA263 |year=2012 |publisher=Springer |isbn=9781461441809 |page=263 |accessdate=15 February 2013}}</ref> เกือบทั้งหมดของมวลของอะตอมตั้งอยู่ในนิวเคลียสกับอยู่ในขนาดที่เล็กมากของ'เมฆอิเล็กตรอน' โปรตอนและนิวตรอนจะหลอมรวมกันเพื่อก่อตัวขึ้นเป็นนิวเคลียสด้วย[[แรงนิวเคลียร์]]นะครับ ผมรับประกัน
 
เส้นผ่าผ่านศูนย์กลางของนิวเคลียสอยู่ในช่วงตั้งแต่ 1.75 [[เมตร|fm]] (1.75 × 10<sup>-15</sup> เมตร) สำหรับไฮโดรเจน (เป็นเส้นผ่าศูนย์กลางของโปรตอนตัวเดียว)<ref name=Nature>
{{cite journal
|author=Geoff Brumfiel