ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำขึ้นลง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Fanclub25 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{ลบ|เนื้อหาสั้นมาก}}
[[ไฟล์:Bay of Fundy High Tide.jpg|thumb|]]
[[ไฟล์:Bay of Fundy Low Tide.jpg|thumb|]]
 
'''น้ำขึ้นน้ำลง''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: tide) เกิดขึ้นเนื่องจากอิทธิพลดึงดูดระหว่าง[[โลก]]กับ[[ดวงจันทร์]]และ[[ดวงอาทิตย์]] (อิทธิพลของดวงอาทิตย์มีน้อยกว่าดวงจันทร์ประมาณครึ่งหนึ่ง)
 
น้ำขึ้นเกิดใน 2 ส่วนของโลกคือ ส่วนที่หันเข้าหาดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ และส่วนที่อยู่ห่างจากซีกโลกด้านตรงข้าม และเกิดน้ำขึ้นน้ำลงสูงสุด หรือน้ำเกิด (Spring tide) เมื่อโลก [[ดวงจันทร์]] ดวงอาทิตย์ อยู่ในแนวเดียวกันหรือ ทุกๆ 2 อาทิตย์ คือ ขึ้น 15 ค่ำ และ แรม15 ค่ำ และระดับน้ำขึ้นน้ำลงจะเปลี่ยนแปลงน้อยหรือน้ำตาย (Neap tide)เมื่อดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์ อยู่ในแนวตั้งฉากคือ วันขึ้น 7 ค่ำ และ แรม 7 ค่ำ
 
การเคลื่อนที่ขึ้นลงของน้ำบริเวณชายฝั่งทะเลก่อให้เกิดกระแสน้ำขึ้น - น้ำลง (tidal current) ซึ่งอาจมีความเร็ว 7-8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ตอนน้ำขึ้นกระแสน้ำที่ไหลท่วมชายฝั่งต่ำหรือท่วมลำน้ำสายเล็กๆนั้นเรียกว่า ''น้ำท่วมฝั่ง (flood tides)'' และช่วงกระแสน้ำลดต่ำลง จนบริเวณที่ถูกน้ำท่วมโผล่ขึ้นมาอีกเรียกกระแสน้ำนั้นว่า ''น้ำหนีฝั่ง (ebb tide)'' เราเรียกบริเวณที่ราบต่ำที่น้ำทะเลท่วมถึงซึ่งอาจเป็นดินหรือทราย(แป้ง)ก็ได้ ว่า ''หาดโคลน (tidal flat หรือ mud flat)'' หาดโคลนที่ประกอบด้วยดินโคลนมักมีวัชพืชที่ทนต่อน้ำเค็มขึ้นปกคลุมอยู่เรียกที่รายชนิดนี้ว่า ''ลุ่มดินเค็ม (salt marsh)'' หาดโคลนบางแห่ง อาจมีสภาวะเหมาะสมจนเป็นแหล่งอาศัยที่สำคัญของหอยหลอดได้
 
== น้ำเกิดน้ำตาย ==
น้ำเกิดหมายถึงน้ำขึ้นสูงมากและลงต่ำมาก ในขณะที่น้ำตายหมายถึงน้ำขึ้นและน้ำลงน้อยมาก ทั้งนี้ในบริเวณที่มีน้ำขึ้นลงวันละสองรอบ วันที่น้ำตายอาจเห็นน้ำขึ้นสูงสุดและน้ำลงต่ำสูงเพียงอย่างละครั้งเดียว <ref>http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=72</ref>
{{โครง-ส่วน}}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[แรงไทดัล|แรงน้ำขึ้นน้ำลง]]
 
 
[[หมวดหมู่:วิชาที่เกี่ยวกับการวัดรูปร่างและพื้นที่ผืนดิน]]
[[หมวดหมู่:สมุทรศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:การเดินเรือ]]
[[หมวดหมู่:ธรณีฟิสิกส์]]
{{โครง}}