ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 30:
 
==ประวัติ==
หม่อม(พระชนนี)น้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา เกิดในครอบครัวชาวสวน[[เขตบางเขน|ย่านบางเขน]] ญาติฝั่งมารดาเป็นอำมาตย์เชื้อสายมอญ<ref name="ส.">[[ส.พลายน้อย]]. ''พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดา''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บำรุงสาสน์. 2530, หน้า 41</ref> เป็นธิดาคนเล็กทั้งหมดสามคนของนายบุศย์ ชาวบางเขน<ref>[http://tawanth.wordpress.com/2009/06/30/เจ้าจอมมารดาวาดในรัชกา/ เจ้าจอมมารดาวาดในรัชกาลที่ ๕ “หนึ่งในผู้ดีแปดสายแรก” แห่งกรุงรัตนโกสินทร์]</ref> กับมารดาชื่อแจ่ม ซึ่งเป็นบุตรีของม่วง สุรคุปต์ ธิดา[[พระยารัตนจักร (หงส์ทอง สุรคุปต์)]]<ref name="ส."/><ref name="เอนก"/> หม่อมน้อยมีพี่สาวสองคน คือ อิ่ม และเอม<ref name="อายุ">ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ''ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ฉบับสมบูรณ์ (ภาคจบ)''. พิมพ์ครั้งที่ 2. [[นครหลวงกรุงเทพธนบุรี|นครหลวงฯ]] : รุ่งวัฒนา. 2515, หน้า 288-289</ref>
 
ครอบครัวของหม่อมน้อยมีความสนิทสนมกับเจ้านาย อาทิ สามีคนที่สองของเอม (พี่สาวของหม่อมน้อย) ที่ชื่อแตง เป็นจางวางใน[[พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอิศราพงศ์]]<ref name="อายุ"/> ส่วนญาติฝั่งมารดาที่ถวายตัวรับราชการฝ่ายใน ได้แก่ [[เจ้าจอมมารดาป้อม ในรัชกาลที่ 1]], [[เจ้าจอมเพ็ง ในรัชกาลที่ 2]] และ[[เจ้าจอมเอม ในรัชกาลที่ 2]] เป็นพี่สาวของม่วง และมีศักดิ์เป็นยายของหม่อมน้อย<ref>ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ''ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ฉบับสมบูรณ์ (ภาคจบ)''. พิมพ์ครั้งที่ 2. [[นครหลวงกรุงเทพธนบุรี|นครหลวงฯ]]:รุ่งวัฒนา. 2515, หน้า 286-287</ref> ส่วน[[พระยารัตนจักร (หงส์ทอง สุรคุปต์)]] ทวดของหม่อมน้อย รับราชการเป็น[[อาทมาต|เจ้ากรมอาทมาฎ]] (หมู่ทหารสืบข่าวข้าศึก) ในกองมอญอาสาหกเหล่า<ref name="เอนก">เอนก นาวิกมูล. ''เจ้านาย ขุนนาง''. กรุงเทพฯ : พิมพ์คำ. 2555, หน้า 31-32</ref>
 
หม่อม(พระชนนี)น้อย ได้เข้ารับราชการเป็นหม่อมห้ามในพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ พระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] กับ[[เจ้าจอมมารดาทรัพย์ ในรัชกาลที่ 3|เจ้าจอมมารดาทรัพย์]]<ref name="วังหลวง">{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร
|ชื่อหนังสือ=ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ "วังหลวง"
บรรทัด 45:
|จำนวนหน้า=304
}}
</ref> ประสูติกาลพระธิดาเพียงพระองค์เดียวคือ [[หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์]] ที่ต่อมารับราชการเป็นพระภรรยาเจ้าใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] คือ สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ใน ร. 4 มีพระราชโอรส-ธิดาสี่พระองค์ หนึ่งในนั้นคือ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref name="มหามกุฎฯ">{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]]
|ชื่อหนังสือ=มหามกุฎราชสันตติวงศ์ พระนามพระราชโอรสธิดา พระราชนัดดา
บรรทัด 69:
</ref>
 
หม่อม(พระชนนี)น้อยถึงแก่อนิจกรรมเมื่อใดไม่ปรากฏ ทราบแต่เพียงว่าหม่อมเจ้ารำเพย พระธิดา ทรงกำพร้าพระชนกและชนนีมาแต่ทรงพระเยาว์ก่อนได้รับการอุปการะจาก[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าละม่อม กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร]] ซึ่งเป็นพระปิตุจฉา<ref name="เอนก"/>
 
==ลำดับสาแหรก==