ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าผีเสื้อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Unitedpage (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6458328 สร้างโดย Unitedpage (พูดคุย)
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:US Marines butterfly stroke.jpg|thumb|200px|ถ่ายภาพมุมสูงของนักว่ายน้ำที่มีประสิทธิภาพจังหวะผีเสื้อ]]
'''ท่าผีเสื้อ''' ({{lang-en|Butterfly stroke}})<ref name="The Guardian - 12 August 2013 - I believe I can butterfly">{{cite news|url=http://www.theguardian.com/lifeandstyle/the-swimming-blog/2013/aug/12/butterfly-swimming-stroke-learn|title=I believe I can butterfly|last=Murphy|first=Sam|date=12 August 2013|work=[[The Guardian]]|publisher=[[Guardian Media Group]]|accessdate=7 September 2014}}</ref> คือท่าว่ายที่ยากของน้ำประเภทหนึ่ง การที่จะเรียนรู้ท่าว่ายนี้ต้องการกล้ามเนื้อจำนวนมากและข้อต่อและเคลื่อนไหวของไหล่และ ช่วงหลังถึงสะโพก การว่ายน้ำท่านี้ต้องการและต้องมีจังหวะที่ดีของแขนและการเตะขาและจังหวะการหายใจ คือผู้ช่วยซึ่งจำเป็นสำหรับการเรียนรู้ที่จะว่ายน้ำท่าผีเสื้อ การฝึกฝนและการเรียนรู้ในการหมุนหัวไหล่จะช่วยในการว่ายให้ดีขึ้น ถ้าคุณมีความรู้สึกที่จะดูการว่ายของปลาโลมา, สิ่งนั้นคือท่าว่ายสำหรับคุณ เพราะเมื่อคุณดูนักว่ายน้ำว่ายท่าผีเสื้อ และรู้สึกมีชีวิตชีวาและมีจินตนาการการว่ายของปลาโลมา นั่นแหละคุณกำลังจะเป็นนักว่ายน้ำท่าผีเสื้อที่ดีในอนาคต<ref>[http://books.google.co.uk/books?id=cSSW4RhZOiwC&pg=PA219&dq=breaststroke&hl=en&sa=X&ei=215ST8raAsK48gPyjL3wBQ&ved=0CDcQ6AEwAA#v=snippet&q=butterfly&f=false Maglischo Ernest W. ''Swimming fastest'' p. 145]</ref>
 
==ความเร็วและการยศาสตร์==
บรรทัด 16:
== เทคนิค ==
=== การเคลื่อนไหวของแขน ===
ต้องเริ่มการเคลื่อนไหวแขนทั้งสองข้างพร้อมๆพร้อม ๆ กัน โดยเหยียดมือทั้งสองออกไปเหนือศีรษะ คล้ายๆคล้าย ๆ กับการพุ้ยน้ำในท่าวัดวา มีข้อแตกต่างจากท่าวัดวาบ้าง คือในท่าผีเสื้อนั้นไม่ต้องบิดหรือม้วนศีรษะขึ้นข้างๆข้าง ๆ เพื่อช่วยในการหายใจ และต้องวาดมือไปพร้อมๆพร้อม ๆ กันทั้งสองข้างในจังหวะพุ่งมือ เริ่มด้วยการให้ฝ่ามือทั้งสองข้างคว่ำลงสู่พื้นสระ มืออยู่ห่างกันประมาณช่วงกว้างของไหล่ ลากหรือกวาดมือออกไปด้านข้างลำตัว แล้วกดมือลงโดยไม่มีการหยุดชะงัก ให้ทำติดต่อกันไปเป็นจังหวะเดียว ข้อศอกงอเล็กน้อยเพื่อให้การกดมือลงไปในน้ำเป็นไปได้ดี และยังคงต้องยกข้อศอกขึ้นสูงไว้ก่อนในขณะที่พุ้ยน้ำออกไปด้านหลังลงไปสู่เส้นกลางตัว การพุ้ยน้ำให้ทำท่าทางเหมือนกับการใช้แขนและลำตัวม้วนอยู่เหนือถังน้ำมัน เมื่อสิ้นสุดการม้วนตัวดังกล่าว ก็เข้าสู่ช่วงของการผลักข้อมือหรือการเหยียดแขนออกเต็มที่ โดยมือทั้งสองจะอยู่ข้างๆข้าง ๆ ต้นขา การว่ายน้ำท่าผีเสื้อจะใช้แรงจากแขนและหัวไหล่มาก
 
การกลับเข้าที่ เริ่มด้วยการผ่อนข้อมือและยกข้อศอกพ้นขึ้นจากน้ำ ต้องไม่เกร็งข้อมือและต้องยกข้อศอกขึ้นสูง ต่อจากนั้นค่อยเคลื่อนไหวมือกลับเข้าสู่ท่าเริ่มต้นด้วยการลดข้อมือลงสู่ผิวน้ำและต้องควบคุมแรงด้วยการก้มศีรษะและการเตะเท้าลงด้านล่าง เพื่อช่วยให้แขนกลับเข้าสู่ท่าเริ่มต้นอีกครั้ง มือและแขนจะเคลื่อนที่ลงสู่ผิวน้ำอย่างต่อเนื่องกันตรงตำแหน่งด้านหน้าของไหล่ การพุ่งมือลงน้ำเริ่มที่ปลายนิ้วก่อน
 
=== การเคลื่อนไหวของขา ===
การใช้ขาและเท้าให้ทำเหมือนปลาโลมาว่ายน้ำ หรือทำเหมือนการเคลื่อนไหวเฉพาะท่อนหางของมัน คือใช้เท้าคู่เตะพร้อมๆพร้อม ๆ กัน โดยกระทุ่มขึ้น-ลงในแนวดิ่ง เพื่อให้ลำตัวเคลื่อนที่พุ่งไปข้างหน้า การเตะเท้าจะทำเหมือนกับท่าวัดวา แต่แตกต่างกันตรงที่ต้องเตะเท้าคู่พร้อมๆพร้อม ๆ กัน จังหวะของการเคลื่อนไหวลำตัวสำคัญมาก เพราะจะส่งผลต่อการเตะเท้าที่ถูกต้อง เริ่มฝึกเคลื่อนไหวขาด้วยการยกสะโพกขึ้น แล้วงอเข่าทั้งสองข้างไปพร้อมกัน การงอเข่าเล็กน้อยเช่นนี้จะทำให้ส้นเท้าตั้งขึ้นไปหาผิวน้ำ ต่อจากนั้นลดสะโพกต่ำลง แล้วเหยียดขาเตะออกไปให้ตึงเต็มที่ ในขั้นสุดท้ายปลายเท้าจะเหยียดตรง การเคลื่อนไหวลำตัวและขาให้สัมพันธ์กันเป็นเรื่องสำคัญมาก เพราะจะทำให้ว่ายท่าผีเสื้อได้ถูกต้องต่อไป
 
=== การหายใจ ===
การหายใจในท่าผีเสื้อมีความสำคัญต่อท่าทางการว่ายที่ถูกต้องมากที่สุดส่วนหนึ่ง การหายใจเริ่มขึ้นภายหลังที่ได้หายใจออกใต้น้ำไปแล้ว ด้วยการยกศีรษะขึ้นข้างหน้า ในลักษณะของการยื่นคางออกไปตรงๆตรง ๆ แล้วหายใจเข้าในขณะที่ขายังอยู่ในจังหวะของการเตะลงต่ำ และพร้อมๆพร้อม ๆ กันนั้นแขนก็จะเคลื่อนที่เข้าสู่จังหวะการผลักมือขึ้น หลังสิ้นสุดการผลักมืออย่างสมบูรณ์ ศีรษะจะม้วนขึ้นและลง ไม่ใช่ยกขึ้นยกลง การกลับเข้าที่ของแขนในช่วงนี้เป็นการกลับเข้าสู่ขั้นการเตรียมเพื่อการเริ่มต้นใหม่ต่อไป
 
=== การเคลื่อนไหวร่างกาย ===