ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถังบำบัดน้ำเสีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: File:Schematic of a septic tank 2.png|thumb|upright=1.6|ภาพวาดแสดงภาพรวมของถังบำบัดน้ำเสีย โด...
 
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
<ref name="tilley">{{cite book|isbn=978-3-906484-57-0 |url=http://www.eawag.ch/forschung/sandec/publikationen/compendium_e/index_EN |title=Compendium of Sanitation Systems and Technologies |edition=2nd |last1=Tilley |first1=Elizabeth |last2=Ulrich |first2=Lukas |last3=Lüthi |first3=Christoph |last4=Reymond |first4=Philippe |last5=Zurbrügg |first5=Chris |publisher=Swiss Federal Institute of Aquatic Science and Technology (Eawag) |location=Duebendorf, Switzerland}}</ref>]]
 
'''ถังบำบัดน้ำเสีย''' เป็นวิธี[[การบำบัดน้ำเสีย]]สำหรับครัวเรือนที่ในชุมชน การใช้งานถังบำบัดน้ำเสียนั้น จะถูกนำมาใช้กับชุมชนในเมืองที่ไม่มีระบบบำบัดน้ำเสียให้บริการจากทางหน่วยงานที่รับผิดชอบ บ้านเรือนในเมืองไทยส่วนใหญ่จะใช้ถังบำบัดน้ำเสียในการบำบัดน้ำ ในขณะที่ในสหรัฐอเมริกาจะมีการใช้ระบบบำบัดจากรัฐบาลประมาณร้อยละ 75 ส่วนร้อยละ 25 ที่เหลือเป็นชุมชนที่อยู่ห่างไกลจะใช้ถังบำบัดน้ำเสีย<ref>{{cite web
| url = http://www.citizensenergygroup.com/STEP
| title = Septic Tank Elimination Program
บรรทัด 8:
| accessdate = 2016-02-16
}}</ref> ประเทศในทวีปยุโรปจะจำกัดให้ใช้เฉพาะในชนบทที่ห่างไกลเท่านั้น เนื่องจากไม่มีพื้นที่สำหรับการ[[ทุ่งบำบัดน้ำเสีย]]
 
ถังบำบัดน้ำเสียในเมืองไทย จะประกอบไปด้วยสองส่วนหลักคือ ถังเกรอะ และถังกรอง โดยถังเกรอะจะมีหน้าที่ในการให้สิ่งสกปรกตกตะกอนไว้ โดยถังสำเร็จรูปจะเป็นถังเดี่ยวแต่ด้านในมีแยกออกเป็นสองส่วน
 
; ถังบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ : มีการติดตั้งปั๊มเพื่อเติมอากาศ โดยจะมีราคาสูงกว่า แต่กลิ่นจะน้อยกว่า
 
; ถังบำบัดน้ำเสียแบบไม่เติมอากาศ : ไม่มีการเติมอากาศ มีราคาที่ต่ำกว่า
 
== อ้างอิง ==