ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลศาสตร์ดั้งเดิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KittapatR (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
KittapatR (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
ในกลศาสตร์ดั้งเดิม วัตถุที่อยู่ในโลกของความเป็นจริงจะถูกจำลองให้อยู่ในรูปของ[[อนุภาคจุด]] (วัตถุที่ไม่มีการอ้างอิงถึงขนาด) โดยการเคลื่อนที่ของอนุภาคจุดจะมีการกำหนดลักษณะเฉพาะของวัตถุ ได้แก่ ตำแหน่งของวัตถุ [[มวล]] และแรงที่กระทำต่อวัตถุ ซึ่งจะกำหนดไว้เป็นตัวเลขที่อาจมีหน่วยกำหนดไว้ และกล่าวถึงมาเป็นลำดับ
 
ในเมื่อมองจากความเป็นจริง วัตถุต่าง ๆ ที่กลศาสตร์ดั้งเดิมกำหนดไว้ว่าวัตถุมีขนาดไม่เป็น[[0|ศูนย์]]เสมอ (ซึ่งถ้าวัตถุที่มีขนาดเล็ก''มาก ๆ'' อย่างเช่น [[อิเล็กตรอน]] [[กลศาสตร์ควอนตัม]]จะอธิบายได้อย่างแม่นยำกว่ากลศาสตร์ดั้งเดิม) วัตถุที่มีขนาดไม่เป็นศูนย์จะมีความซับซ้อนในการศึกษามากกว่าอนุภาคจุดตามทฤษฎี เพราะวัตถุมีความอิสระของมันเอง ([[:en:Degrees_of_freedom_(physics_and_chemistry)|Degrees of freedom]]) อาทิ ลูก[[เซปักตะกร้อ|ตะกร้อ]]สามารถหมุนได้ขณะเคลื่อนที่หลังจากที่ถูกเดาะขึ้นไปบนอากาศ อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์ของอนุภาคจุดสามารถใช้ในการศึกษาจำพวกวัตถุทั่วไปได้โดยสมมุติว่าเป็นวัตถุนั้น หรือสร้างอนุภาคจุดสมมุติหลาย ๆ จุดขึ้นมา ดังเช่น[[ศูนย์กลางมวล|จุดศูนย์กลางมวล]]ของวัตถุที่แสดงเป็นอนุภาคจุด
 
กลศาสตร์ดั้งเดิมใช้[[สามัญสำนึก]]เป็นแนวว่าสสารและแรงเกิดขึ้นและมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างไร โดยตั้งสมมุติฐานว่าสสารและพลังงานมีความแน่นอน และมีคุณสมบัติที่รู้อยู่แล้ว ได้แก่ ตำแหน่งของวัตถุใน[[ปริภูมิ]] (Space) และความเร็วของวัตถุ อีกทั้งยังสามารถสมมุติว่ามีอิทธิพลโดยตรงกับสิ่งที่อยู่รอบวัตถุในขณะนั้นได้อีกด้วย (หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า [[:en:Principle_of_locality|Principle of locality]])
บรรทัด 64:
|[[ค่านิจสปริง]] (Spring Constant)||กิโลกรัม·วินาที<sup>−2</sup>
|-
|[[ความเข้มตกกระทบ]] (Irradiance) และ
และ [[ความเข้มของพลังงาน]] (Energy flux)||กิโลกรัม·วินาที<sup>−3</sup>
 
และ [[ความเข้มของพลังงาน]] (Energy flux)||กิโลกรัม·วินาที<sup>−3</sup>
|-
|[[ความหนืดจลน์]] (Kinematic Viscosity)||เมตร<sup>2</sup>·วินาที<sup>−1</sup>