ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาตราความรุนแรงคลื่นไหวสะเทือนของสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘เล้กน้อย’ ด้วย ‘เล็กน้อย’
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
มาตราส่วนนี้อธิบายระดับของการสั่นที่จุดบนผิวโลก ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับ[[มาตราเมร์กัลลี]] ซึ่งความรุนแรงของแผ่นดินไหวจะไม่ได้พิจารณาจากขนาดของแผ่นดินไหว และต่างกันไปตามสถานที่; ตัวอย่างเช่น การสั่นสะเทือนอาจจะอธิบายว่า "ขนาด 4 ชินโดะในโตเกียว, ขนาด 3 ชินโดะในโยะโกะฮะมะ, ขนาด 2 ชินโดะในชิซุโอะกะ"
 
สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นมีเครือข่ายเครื่องวัดความไหวสะเทือน 180 แห่งและ 627 เมตรเครื่องวัดความรุนแรงคลื่นไหวสะเทือน<ref>[http://www.seisvol.kishou.go.jp/eq/intens_st/index.html 気象庁 | 震度観測点(全国)<!-- Bot generated title -->]</ref><ref>The Daily Yomiuri, August 23, 2009, p. 2</ref> และมีการรายงานการเกิดแผ่นดินไหวแบบเรียลไทม์กับสื่อและอินเทอร์เน็ต<ref>[http://www.jma.go.jp/en/quake/ Japan Meteorological Agency | Earthquake Information<!-- Bot generated title -->]</ref>
 
== ประวัติ ==