ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
เรียบร้อยโดยไม่ต้องร้องขอ ก็ดีแล้ว
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติการก่อตั้ง: ย้ายภาพสัญลักษณ์
บรรทัด 7:
 
=== ยุคจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี ===
{{multiple image
| width = 140
| image1 = Seal_Phra_Nakhon.png
| alt1 = จังหวัดพระนคร
| caption1 = ตราประจำจังหวัดพระนคร
| image2 = Seal_Thonburi_Province.png
| alt2 = จังหวัดธนบุรี
| caption2 = ตราประจำจังหวัดธนบุรี
}}
 
เมื่อมีการประกาศใช้ [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2476/A/751.PDF พระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476] <ref name="admin2476">ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 50 ตอน 0 ก, [[9 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2476]], หน้า 751.</ref> กำหนดหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาค ให้มีเพียง[[จังหวัด]]และ[[อำเภอ]]เท่านั้น มณฑลกรุงเทพมหานครจึงแบ่งออกเป็นจังหวัดต่างๆ ตามเดิม ส่วนกรุงเทพมหานครและธนบุรี กำหนดให้แยกเป็นสองจังหวัด คือ''จังหวัดพระนคร''และ''[[จังหวัดธนบุรี]]'' มีผู้ว่าราชการจังหวัด ทำหน้าที่รับผิดชอบการบริหารงาน ส่วนอำเภอมี[[นายอำเภอ]]ทำหน้าที่รับผิดชอบการบริหารงาน โดยผู้ดำรงตำแหน่งทั้งสองจะทำงานร่วมกับ ผู้แทนหน่วยราชการต่างๆ ที่ส่วนกลางส่งมาทำงานประจำในส่วนภูมิภาค นอกจากนี้ ยังมีการยกสถานะแก่เขตที่เป็นชุมชนหนาแน่น ให้เป็น[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น|หน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น]]ที่เรียกว่า''[[เทศบาล]]'' ตาม[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2477/A/82.PDF พระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476] <ref>ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 51 ตอน 0 ก, [[24 เมษายน]] [[พ.ศ. 2477]], หน้า 82.</ref>อีกด้วย ต่อมาในวันที่ [[29 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2479]] มีการตรา[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2479/A/704.PDF พระราชบัญญัติจัดตั้ง''เทศบาลนครกรุงเทพฯ''] <ref>ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 53 ตอน 0 ก, 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2479, หน้า 704.</ref> และ [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2479/A/710.PDF พระราชบัญญัติจัดตั้ง''เทศบาลนครธนบุรี''] <ref>ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 53 ตอน 0 ก, 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2479, หน้า 710.<br/>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2479/D/2432.PDF ประกาศแก้ไขชื่อ พระราชบัญญัติจัดตั้งเทศบาลนครกรุงธนบุรี พ.ศ. 2479], ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 53 ตอน 0 ง, 13 ธันวาคม พ.ศ. 2479, หน้า 2432.</ref> โดยให้มีผลในวันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2480]]<ref name="bma_evolution"/>
 
เส้น 22 ⟶ 12:
 
==== เทศบาลนครกรุงเทพฯ ====
|[[ไฟล์:Seal caption1 =Phra Nakhon.png|150px|thumb|ตราประจำจังหวัดพระนคร]]
 
''เทศบาลนครกรุงเทพฯ'' เริ่มเปิดดำเนินงาน ในวันที่ [[27 พฤษภาคม]] พ.ศ. 2480 โดยเช่าบ้านพักของ[[คุณหญิง]]ลิ้นจี่ สุริยานุวัติ ที่[[ถนนกรุงเกษม]] เป็นสำนักงาน โดยมี พลเอก[[เจ้าพระยารามราฆพ]] เป็น[[นายกเทศมนตรี]]คนแรก แต่เนื่องจากสถานที่ไม่อำนวยให้รวมศูนย์หน่วยงานต่างๆ ทั้งหมดไว้ได้ เป็นผลให้การติดต่องานไม่สะดวก ทั้งยังสิ้นเปลืองค่าเช่าสถานที่หลายแห่งด้วย ดังนั้นในเดือน[[มกราคม]] [[พ.ศ. 2484]] จึงย้ายสำนักงานเทศบาลมายังตำบล[[เสาชิงช้า]] (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร) โดยเทศบาลนครกรุงเทพฯ มีสถานะเป็นทบวงการเมือง และเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย เช่นเดียวกับเทศบาลอื่นทั่วไป เมื่อแรกก่อตั้งมีอาณาเขต 50.778 ตารางกิโลเมตร ต่อมามีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลนครกรุงเทพฯ อีกสามฉบับ โดยเมื่อ พ.ศ. 2485 เพิ่มอาณาเขตเป็น 72.156 ตร.กม., พ.ศ. 2497 ขยายเป็น 124.747 ตร.กม. และครั้งสุดท้าย พ.ศ. 2508 รวมเนื้อที่ทั้งหมด 238.567 ตร.กม. สำหรับสถิติประชากรในเขตเทศบาลนครกรุงเทพ เมื่อ พ.ศ. 2514 รวมทั้งหมด 2,349,215 คน<ref name="bma_thonburi">[http://203.155.220.230/info/History/history_cityofbangkokandthonburi.htm เทศบาลนครกรุงเทพฯ และ เทศบาลนครธนบุรี] ในเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร</ref>
 
เส้น 29 ⟶ 21:
 
==== เทศบาลนครธนบุรี ====
|[[ไฟล์:Seal caption2 =Thonburi Province.png|150px|thumb|ตราประจำจังหวัดธนบุรี]]
 
''เทศบาลนครธนบุรี'' เริ่มเปิดดำเนินงาน เมื่อวันที่ [[21 เมษายน]] [[พ.ศ. 2480]] โดยใช้จวนของ[[เจ้าจอมพิศว์ บุนนาค]] ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งตั้งอยู่ข้าง[[วัดประยุรวงศาวาส]] ริม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] เป็นสำนักงาน ส่วนเทศบาลนครธนบุรีที่จัดตั้งมาก่อนแล้วนั้น ย้ายสำนักงานไปตั้งอยู่ที่ปลาย[[ถนนลาดหญ้า]] ตอนปาก[[คลองสาน]] ริมแม่น้ำเจ้าพระยาเช่นกัน (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร) โดยเทศบาลนครธนบุรี แบ่งหน่วยงานบริหารภายใน ตามที่มีบันทึกไว้เมื่อ [[พ.ศ. 2504]] ประกอบด้วย ''สำนักบริหารของคณะเทศมนตรี'', ''สำนักปลัดเทศบาล'' และ ''กองคลัง'' ซึ่งแบ่งเป็น ''แผนกผลประโยชน์'' ซึ่งรับชำระภาษีอากรต่างๆ ทุกประเภทของเทศบาล, ''แผนกสาธารณสุข'' ประกอบด้วย หมวดบำบัดโรค รับบำบัดโรคแก่ประชาชนทั่วไป ในลักษณะคนไข้นอก, ''แผนกช่าง'', ''แผนกรักษาความสะอาด'' และ ''แผนกการประปา'' ซึ่งรับติดตั้งประปา และชำระค่าน้ำประปาทุกประเภท<ref name="bma_thonburi"/>