ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไนอาซิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Aanon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 80:
}}
}}
'''ไนอาซิน''' หรือ '''ไนอะซิน''' ({{lang-en|niacin}}) หรือ '''กรดนิโคตินิก''' ({{lang-en|nicotinic acid}}) หรือ '''วิตามินบี3''' ({{lang-en|vitamin B<sub>3</sub>}}) เป็นวิตามินชนิดที่ละลายในน้ำได้<ref>[https://siripansiri.wordpress.com/%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%99/ สารอาหารประเภทวิตามิน], วันที่สืบค้น 24 เมษายน 2559 จาก www.siripansiri.wordpress.com.</ref> ซึ่งจำเป็นใน Lipid Metabolism,Tissue respiration และ Glycogenolysis Nicotinic Acid ในปริมาณสูงๆสูง ๆ จึงสามารถลดระดับ[[โคเลสเตอรอล]]ใน[[เลือด]]ได้ โดยฤทธิ์ของยาจะทำให้ระดับ Triacylglycerol ใน Plasma และ VLDL ลดลงภายใน 1-4 วัน ส่วนฤทธิ์ในการลดระดับโคเลสเตอรอลและ LDL นั้น 5-7 วันจึงจะเห็นผล และนอกจากนั้น Nicotinic Acid ยังสามารถเพิ่ม HDL อีกด้วย จากการทดลองผลการลดระดับ[[ไขมัน]]ในเลือดจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดหลังรับประทานยา 5-7 สัปดาห์ ยาส่วนเกินที่รับประทานเข้าไปจะขับออกจากร่างกายผ่านทาง[[ปัสสาวะ]] ซึ่งร่างกายมนุษย์มีความต้องการวิตามินชนิดนี้วันละ 13-19 มิลลิกรัม<ref name="วิตามินบี-3">[http://www.pikool.com/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B5-3/ วิตามินบี-3], วันที่สืบค้น 24 เมษายน 2559 จาก www.pikool.com.</ref>
 
== ประโยชน์ ==
* ช่วยทำลายพิษหรือท็อกซินจากมลพิษ [[แอลกอฮอล์]]และ[[ยาเสพติด]]
* รักษาโรคทางจิตและโรคเกี่ยวกับความผิดปกติทาง[[สมอง]]
* ช่วยให้อาการต่างๆ ของผู้ป่วย[[โรคเบาหวาน|เบาหวาน]]ดีขึ้น
* ช่วยรักษาโรคปวดหัว[[ไมเกรน]]
บรรทัด 90:
* ช่วยกระตุ้นและแก้ไขความบกพร่องทางเพศ
* ช่วยลด[[ความดันโลหิตสูง]]ประจำ
 
== ผลกระทบที่ร่างกายได้รับ ==
=== ภาวะการได้รับไม่เพียงพอ ===
เมื่อร่างกายได้รับไนอาซีนไม่เพียงพอจะทำให้เกิดอาการอาหารไม่ย่อย คันตามผิวหนัง ปลาย[[ประสาท]]และ[[ลิ้น]]อักเสบ ภาวะซีด ปวดท้อง<ref name="วิตามินบี-3"/>เวียน[[ศีรษะ]] คลื่นไส้ ซึมเศร้า โรคผิวหนัง ท้องร่วง อ่อนเพลีย<ref name="วิตามินที่ละลายในน้ำต่อสุขภาพของมนุษย์">[http://medical-help-fast.com/th/pages/686525/ วิตามินที่ละลายในน้ำต่อสุขภาพของมนุษย์], วันที่สืบค้น 24 เมษายน 2559 จาก www.medical-help-fast.com.</ref>
=== ภาวะการได้รับเกินขนาด ===
เมื่อร่างกายได้รับไนอาซินมากกว่า 10-20 เท่าจะทำให้เกิดอาการท้องอืด ปวดท้อง หรือมีผื่นแดงขึ้นตามร่างกาย<ref name="วิตามินบี-3"/>
 
== แหล่งที่พบ ==
แหล่งที่พบไนอาซินได้แก่ ตับ [[แครอท]] เนื้อ[[มะเขือเทศ]] [[เห็ด]]<ref name="วิตามินที่ละลายในน้ำต่อสุขภาพของมนุษย์"/> เนื้อ[[ไก่]] เนื้อ[[เป็ด]] เนื้อ[[วัว]] เครื่องในสัตว์ ใบ[[ตำลึง]] [[อาโวคาโด]] รำข้าว [[ลูกพรุน]] [[อินทผลัม]]<ref name="วิตามินบี-3"/>
 
==ดูเพิ่ม==
* [[ไนเซอริทรอล]]
เส้น 98 ⟶ 108:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* นิตยสารชีวจิต ฉบับวันที่ 1 พฤษภาคม 2550
* [http://www.healthdd.com/news/news_preview.php?id=46 the Journal of Neurology, Neurosurgery, and Psychiatry; August 2004]
เส้น 106 ⟶ 117:
 
 
[[หมวดหมู่:วิตามินที่ละลายในน้ำได้]]