ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทลื้อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 76:
 
== วัฒนธรรม ==
ชาวไทลื้อมีชีวิตที่คล้ายคลึงกับ[[ชาวไทย]]หรือชนเผ่าอื่นๆทางอื่นในภูมิภาค คือมีการสร้างบ้านเรือนเป็นบ้านไม้ มี[[ใต้ถุนสูง]] มีครัวไฟบนบ้าน ใต้ถุนเลี้ยงสัตว์ แต่ในปัจจุบันวิถีชีวิตได้เปลี่ยนไป การสร้างบ้านเรือนก็เปลี่ยนแปลงไปด้วย เรือนที่ยังคงสภาพเป็นเรือนไม้แบบเดิมสถาปัตยกรรมแบบไทลื้อผสมล้านนายังพอจะมีให้เห็นบ้างในบางชุมชน เช่น บ้านธาตุสบแวน และบ้านหย่วน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา
 
ชาวไทลื้อมีชีวิตที่คล้ายคลึงกับ[[ชาวไทย]]หรือชนเผ่าอื่นๆทางภูมิภาค คือมีการสร้างบ้านเรือนเป็นบ้านไม้ มี[[ใต้ถุนสูง]] มีครัวไฟบนบ้าน ใต้ถุนเลี้ยงสัตว์ แต่ในปัจจุบันวิถีชีวิตได้เปลี่ยนไป การสร้างบ้านเรือนก็เปลี่ยนแปลงไปด้วย เรือนที่ยังคงสภาพเป็นเรือนไม้แบบเดิมสถาปัตยกรรมแบบไทลื้อผสมล้านนายังพอจะมีให้เห็นบ้างในบางชุมชน เช่น บ้านธาตุสบแวน และบ้านหย่วน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา
 
ชาวไทลื้อส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนที่เคร่งครัด นิยมสร้างวัดในชุมชนต่างๆ แทบทุกชุมชนของชาวไทลื้อ ทั้งยังตกแต่งด้วยศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์งดงาม มีการบูรณะ ซ่อมแซม ให้คงสภาพดีอยู่เสมอ ซึ่งปัจจุบันเหลืออยู่เพียงบางแห่ง เช่น วิหารวัดดอนมูล วิหารวัดหนองแดง วิหารวัดหนองบัว วิหารวัดท่าฟ้าใต้ วิหารวัดแสนเมืองมา(วัดมาง) วิหารวัดหย่วน เป็นต้น
เส้น 85 ⟶ 84:
ผู้ชายไทลื้อส่วนใหญ่จะนิยมสวมเสื้อขาวแขนยาว สวมทับด้วยเสื้อกั๊กปักลวดลายด้วยเลื่อม เรียกว่า "เสื้อปา" สวมกางเกง[หม้อห้อม]]ขายาวต่อหัวกางเกงด้วยผ้าสีขาว เรียกว่า "เตี่ยวหัวขาว" นิยมโพกศีรษะ ("เคียนหัว") ด้วยผ้าสีขาว สีชมพู ส่วนหญิงไทลื้อนิยมสวมเสื้อปั๊ด (เป็นเสื้อที่ไม่มีกระดุมแต่สาบเสื้อจะป้ายเฉียงมาผูกไว้ที่เอวด้านข้าง) นุ่งซิ่นต๋าลื้อ สะพายกระเป๋าย่าม ("ถุงย่าม")และนิยมโพกศีรษะด้วยผ้าสีขาวหรือสีชมพู<ref>http://www.lannacorner.net/weblanna/article/article.php?type=A&ID=482</ref>
 
ชาวไทลื้อในสิบสองปันนาบางส่วนได้สมรสกับ[[หุย|ชาวหุย]]และเข้ารีตเป็นมุสลิม พวกเขาจะเรียกแทนตัวว่า "ไทหุย" พูดภาษาและแต่งกายอย่างไทลื้อแต่สวมหมวกและมีผ้าคลุมศีรษะ ในปี พ.ศ. 2553 มีจำนวนไทหุยทั้งหมด 743 คน ตั้งถิ่นฐานที่หมู่บ้านหม่านล้วนหุย และบ้านหม่านซ่ายหุยในเขตเมืองฮาย<ref>{{cite journal|journal= สุขสาระ | author = เจนิชา ประพฤทธิ์มล |volume= 11 |issue= 125 |pages= 10-11 |title= ไทหุย (มุสลิม) ในสิบสองปันนา |url= http://www.thaihealth.or.th/data/ecatalog/384/pdf/384.pdf |date= พฤษภาคม 2557 |language= ไทย }}</ref>
เรื่องของชาวไทลื้อ ซึ่งบรรพบุรุษได้อพยพมาจากเมืองยอง เมืองยู้ เมืองเชียงลาบ (เมืองทั้งหมดนี้อยู่ใน[[รัฐฉาน]] [[ประเทศพม่า]]) และชาวไทยอง (คนไทลื้อเมืองยอง เข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตจังหวัดต่างๆ ทางภาคเหนือหรือล้านนา) นั้น มีความเกี่ยวข้องกันมาก ดังนั้นจึงอาจจะไม่สามารถแบ่งแยกกันได้ว่าไทยองไม่ใช่ไทลื้อ
 
'''[[สมเด็จพระเป็นเจ้าหอคำเชียงรุ่ง 1]]''' (พญาเจื๋อง) เป็นปฐมกษัตริย์ของชาวไทลื้อ แห่งราชวงค์อาฬโวสวนตาล จนถึงสมเด็จพระเจ้าหอคำเชียงรุ่งที่ 41 [[เจ้าหม่อมคำลือ]] (ตาวซินซือ) ก่อนสิ้นสุดลงเพราะรัฐบาลจีนได้ถอดถอนท่านออกจากการเป็นเจ้าแผ่นดิน ยุบเลิกระบบการปกครองเดิมของสิบสองปันนา ส่วนพระอนุชาได้ลี้ภัย มาอยู่ที่[[อำเภอแม่สาย]] หม่อมตาลคำ ได้ลี้ภัยมาอยู่กรุงเทพ
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* Volker Grabowsky and Renoo wichasin, Chronicles of Chiang Khaeng, Bangkok: O.S. Printing House, 2008.
{{จบอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไทลื้อ"