ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับให้ดีขึ้น
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Fertile Crescent map it.PNG|thumb| แผนที่แสดงเขตพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ Fertile Crescent เป็นสีแดง ]]
เขต '''พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์Fertile Crescent''' ({{lang-en|Fertile Crescent}}) ที่รู้จักกันโดยเป็นอู่อารยธรรม (Cradle of Civilization) เป็นบริเวณรูปจันทร์เสี้ยวที่รวมแผ่นดินที่ชื้นและอุดมสมบูรณ์โดยเทียบกับบริเวณข้างเคียงใน[[เอเชียตะวันตก]]ที่เป็น[[ภูมิอากาศ|เขตกึ่งแห้งแล้ง]] (semi-arid) และรวมบริเวณรอบ ๆ [[ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ]]และลุ่ม[[แม่น้ำไนล์]] เป็นบริเวณอยู่ติดกับเขตเอเชียน้อยหรือที่เรียกว่า[[อานาโตเลีย]] คำนี้เริ่มใช้ในการศึกษา[[ประวัติศาสตร์]]โบราณ แล้วต่อมาจึงกลายมาเป็นคำที่นิยมใช้ใน[[โลกตะวันตก]]แม้ในสาขาภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) และในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต
]]
 
ความหมายทั้งหมดที่มีของคำนี้ ล้วนรวมเขต[[เมโสโปเตเมีย]] คือผืนแผ่นดินรอบ ๆ แม่น้ำไทกริสและแม่น้ำยูเฟรทีส
เขต '''พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์''' ({{lang-en|Fertile Crescent}}) ที่รู้จักกันโดยเป็นอู่อารยธรรม (Cradle of Civilization) เป็นบริเวณรูปจันทร์เสี้ยวที่รวมแผ่นดินที่ชื้นและอุดมสมบูรณ์โดยเทียบกับบริเวณข้างเคียงใน[[เอเชียตะวันตก]]ที่เป็น[[ภูมิอากาศ|เขตกึ่งแห้งแล้ง]] (semi-arid) และรวมบริเวณรอบ ๆ [[ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ]]และลุ่ม[[แม่น้ำไนล์]] เป็นบริเวณอยู่ติดกับเขตเอเชียน้อยหรือที่เรียกว่า[[อานาโตเลีย]] คำนี้เริ่มใช้ในการศึกษา[[ประวัติศาสตร์]]โบราณ แล้วต่อมาจึงกลายมาเป็นคำที่นิยมใช้ใน[[โลกตะวันตก]]แม้ในสาขาภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) และในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต
และรวมเขต[[ลิแวนต์]] คือฝั่งทิศตะวันออกของ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]]
ประเทศต่าง ๆ ปัจจุบันที่มีดินแดนร่วมอยู่ในเขตนี้รวมทั้ง[[ประเทศอิรัก]] [[คูเวต]] [[ซีเรีย]] [[เลบานอน]] [[จอร์แดน]] [[อิสราเอล]] และ[[ปาเลสไตน์]]
ความหมายทั้งหมดที่มีของคำนี้ ล้วนรวมเขต[[เมโสโปเตเมีย]] คือผืนแผ่นดินรอบ ๆ แม่น้ำไทกริสและแม่น้ำยูเฟรทีสและรวมเขต[[ลิแวนต์]] คือฝั่งทิศตะวันออกของ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] ประเทศต่าง ๆ ปัจจุบันที่มีดินแดนร่วมอยู่ในเขตนี้รวมทั้ง[[ประเทศอิรัก]] [[คูเวต]] [[ซีเรีย]] [[เลบานอน]] [[จอร์แดน]] [[อิสราเอล]] และ[[ปาเลสไตน์]] โดยอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ[[ประเทศตุรกี]]และทางทิศตะวันตกของ[[อิหร่าน]]<ref>{{cite book |authors = Haviland, William A. et. al |title = The Essence of Anthropology |year = 2013 |publisher = Wadsworth |location = Belmont, California |isbn = 1111833443 |page = 104 |edition = 3rd}}</ref><ref>{{cite book |title = Ancient Mesopotamia/India |year = 2004 |publisher = Social Studies School Service |location = Culver City, California |isbn = 1560041668 |page = 4}}</ref>
 
เขตนี้บ่อยครั้งเรียกว่า อู่อารยธรรม (cradle of civilization) เพราะเป็นเขตที่เกิดพัฒนาการเป็น[[อารยธรรม]]มนุษย์แรก ๆ สุด ซึ่งเจริญรุ่งเรืองโดยอาศัยทรัพยากรน้ำและเกษตรกรรมที่มีอยู่ในเขตความก้าวหน้าทาง[[เทคโนโลยี]]ที่เกิดขึ้นในเขตนี้รวมทั้งการพัฒนา[[การเขียน|ภาษาเขียน]] การทำ[[แก้ว]] [[ล้อ]] และระบบ[[ชลประทาน]]
ความหมายทั้งหมดที่มีของคำนี้ ล้วนรวมเขต[[เมโสโปเตเมีย]] คือผืนแผ่นดินรอบ ๆ แม่น้ำไทกริสและแม่น้ำยูเฟรทีสและรวมเขต[[ลิแวนต์]] คือฝั่งทิศตะวันออกของ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] ประเทศต่าง ๆ ปัจจุบันที่มีดินแดนร่วมอยู่ในเขตนี้รวมทั้ง[[ประเทศอิรัก]] [[คูเวต]] [[ซีเรีย]] [[เลบานอน]] [[จอร์แดน]] [[อิสราเอล]] และ[[ปาเลสไตน์]] โดยอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ[[ประเทศตุรกี]]และทางทิศตะวันตกของ[[อิหร่าน]]<ref>{{cite book |authors = Haviland, William A. et. al |title = The Essence of Anthropology |year = 2013 |publisher = Wadsworth |location = Belmont, California |isbn = 1111833443 |page = 104 |edition = 3rd}}</ref><ref>{{cite book |title = Ancient Mesopotamia/India |year = 2004 |publisher = Social Studies School Service |location = Culver City, California |isbn = 1560041668 |page = 4}}</ref>
ความก้าวหน้าทาง[[เทคโนโลยี]]ที่เกิดขึ้นในเขตนี้รวมทั้งการพัฒนา[[การเขียน|ภาษาเขียน]] การทำ[[แก้ว]] [[ล้อ]] และระบบ[[ชลประทาน]]
 
เขตนี้บ่อยครั้งเรียกว่า อู่อารยธรรม เพราะเป็นเขตที่เกิดพัฒนาการเป็น[[อารยธรรม]]มนุษย์แรก ๆ สุด ซึ่งเจริญรุ่งเรืองโดยอาศัยทรัพยากรน้ำและเกษตรกรรมที่มีอยู่ในเขตความก้าวหน้าทาง[[เทคโนโลยี]]ที่เกิดขึ้นในเขตนี้รวมทั้งการพัฒนา[[การเขียน|ภาษาเขียน]] การทำ[[แก้ว]] [[ล้อ]] และระบบ[[ชลประทาน]]
 
== ประวัติศัพท์ ==
เส้น 17 ⟶ 19:
นี่เป็นคำพรรณนาเขตนี้ในหนังสือปี 1916<ref name="Breasted 1914/1916"/>
<blockquote>
ในที่สุดแห่งทิศตะวันตกของ[[เอเชีย]] มีเขตที่มีรูปร่างไม่สมมาตร ซึ่งโดยทั่วไปแล้วรวมอยู่ในวงน้ำติดกับ[[ทะเลแคสเปียน]]กับ[[ทะเลดำ]]ทางทิศเหนือ ติดกับ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]]กับ[[ทะเลแดง]]ทางทิศตะวันตก และติดกับ[[มหาสมุทรอินเดีย]]กับ[[อ่าวเปอร์เซีย]]ทางทิศใต้และตะวันออก
โดยมากเป็นเขต[[ภูเขา]]ทางทิศเหนือและเขต[[ทะเลทราย]]ทางทิศใต้
ที่อยู่มนุษย์ที่เก่าแก่ที่สุดในสนามใหญ่แห่ง[[เอเชียตะวันตก]]นี้ เป็นแผ่นดินชายแดนระหว่างเขตทะเลทรายและเขตภูเขา เป็นเขตสุดติดกับทะเลทรายที่เพาะปลูกได้ เป็นแผ่นดินวงจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ที่มีภูเขาทางด้านหนึ่งและทะเลทรายอีกด้านหหนึ่ง
เส้น 31 ⟶ 33:
อย่างไรก็ดี หลังจากแม้จะได้ฝนหน้าหนาวอย่างขาดแคลน แผ่นดินเป็นแถบกว้างของอ่าวทะเลทรายด้านเหนือก็จะปกคลุมไปด้วยหญ้าบาง ๆ และดังนั้น[[ฤดูใบไม้ผลิ]]ก็จะเปลี่ยนบริเวณนี้เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ให้เป็น[[ทุ่งหญ้า]]
ประวัติของเอเชียตะวันตกสามารถกล่าวได้ว่า เป็นการต่อสู้กันที่เป็นไปนานแล้วระหว่างกลุ่มชนภูเขาทางทิศเหนือและนักเร่ร่อนชาวทะเลทรายแห่งเขตทุ่งหญ้าเหล่านี้ และก็ยังเป็นการต่อสู้ที่ยังเป็นไปอยู่ในปัจจุบัน เพื่อจะได้เป็นเจ้าของของ Fertile Crescent ซึ่งเป็นฝั่งของอ่าวทะเลทราย<br /><br />
<sup>1</sup> ไม่มีชื่อทั้งทาง[[ภูมิศาสตร์]]ทั้งทาง[[การเมือง]] ซึ่งที่รวมแผ่นดินทั้งหมดของครึ่งวงกลมใหญ่นี้ ดังนั้น เราจำต้องบัญญัติคำแล้วเรียกมันว่า Fertile Crescent
</blockquote>
ความหมายของคำตามที่ใช้ในปัจจุบันรวมทั้ง[[ประเทศอิรัก]] [[คูเวต]] ส่วนรอบ ๆ [[อิหร่าน]]และ[[ตุรกี]] และชายฝั่งของเขต[[ลิแวนต์]]ที่ติดกับ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] [[ซีเรีย]] [[จอร์แดน]] [[ปาเลสไตน์]] และ[[เลบานอน]]
ทรัพยากรน้ำที่มีรวม[[แม่น้ำจอร์แดน]]ด้วย
แต่การถ้าใช้คำโดยครอบคลุมอย่างครอบคลุมกว้างไกลที่สุด เขตนี้อาจจะรวมบางส่วนของ[[ประเทศอียิปต์]]ทางทิศใต้ กับลุ่มแม่น้ำกับ[[ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ]]ไนล์ที่อยู่ในอียิปต์ และ[[ประเทศไซปรัส]]ที่เป็นเกาะ{{Citation needed |date = 2016-01}}
ขอบเขตด้านในครึ่งวงกลมแบ่งโดยภูมิอากาศที่แห้งแล้งของทะเลทรายซีเรียทางทิศใต้ ส่วนของเขตด้านนอกเป็นแผ่นดินที่แห้งแล้งและกึ่งแห้งแล้งของเทือกเขา[[คอเคซัส]]ทางทิศเหนือ ที่สูงของ[[อานาโตเลีย]]ทางทิศตะวันตก และ[[ทะเลทรายสะฮารา]]ทางทิศตะวันตก
 
== ภาษาที่ใช้ ==
เส้น 57 ⟶ 59:
 
== ภูมิประเทศ ==
แม้ว่า [[แม่น้ำ]]และลุ่มน้ำจะเป็นทรัพยากรที่ขาดไม่ได้สำหรับการเกิดขึ้นของ[[อารยธรรม]]ในเขตนี้ แต่ก็ไม่ใช่ปัจจัยเดียวแห่งการพัฒนาได้เร็วของเขตนี้
คือ บริเวณนี้เป็นจุดเชื่อมสำคัญระหว่าง[[แอฟริกา]]และ[[ยูเรเชีย]]
ซึ่งทำให้เขตนี้มี[[ความหลากหลายทางชีวภาพ]]มากกว่าทั้ง[[ยุโรป]]และ[[แอฟริกาเหนือ]]
ซึ่งล้วนแต่เป็นที่ที่[[การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ]]ในช่วง[[ยุคน้ำแข็ง]] ทำให้เกิด[[การสูญพันธุ์|เหตุการณ์สูญพันธ์]]ซ้ำ ๆ เมื่อระบบนิเวศหดเล็กลงมาชิดกับชายฝั่งของ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]]
เมื่อควบคู่กับเหตุการณ์ที่อธิบายโดยทฤษฎี Saharan pump theory จุดเชื่อมในตะวันออกกลางนี้จะสำคัญมากต่อการกระจายพันธุ์ของพฤกษชาติและพรรณสัตว์ใน[[โลกเก่า]]ดังที่พบในปัจจุบัน รวมทั้งมนุษย์ด้วย
เขตนี้ยังเป็นแนว[[การแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค|แผ่นเปลือกโลก]]แยกตัวระหว่างแผ่นธรณีภาคแอฟริกาและอาหรับ และแนวแผ่นเปลือกโลกรวมตัวระหว่างแผ่นธรณีภาคอาหรับและยูเรเชีย ซึ่งมีผลให้กลายเป็นเขตสูงต่ำมียอดเขาปกคลุมด้วยหิมะมากมาย
 
เส้น 73 ⟶ 75:
== ประวัติ ==
เขตนี้มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์มนุษย์ที่น่าทึ่งใจที่สุดที่หนึ่ง
นอกจากจะมี[[โบราณสถาน]]ที่มีซากกระดูกและซากหลักฐานทางวัฒนธรรมทั้งของ[[วิวัฒนาการของมนุษย์|มนุษย์พันธุ์ก่อนปัจจุบัน]] ของมนุษย์พันธุ์ปัจจุบันในยุคต้น ๆ (เช่นที่ถ้ำ Kebara ใน[[ปาเลสไตน์]]) ของมนุษย์ที่ทำกินเป็น[[นักล่า-เก็บพืชผล]]ใน[[สมัยไพลสโตซีนสโตซีน]]เบื้องปลาย และของมนุษย์นักล่า-เก็บพืชผลที่กึ่งอยู่เป็นที่ (คนกลุ่ม Natufian) ในสมัย Epipalaeolithic แล้ว เขตนี้ยังรู้จักกันดีที่สุดในฐานะเป็นแหล่งกำเนิด[[เกษตรกรรม]]
คือ เขตตะวันตกใกล้ ๆ [[จอร์แดน]]และเขตแม่น้ำยูเฟรทีสตอนบน เป็นแหล่งกำเนิดของชุมชนเกษตรกร[[ยุคหินใหม่]]ที่เก่าแก่ที่สุด (ที่เรียกว่า Pre-Pottery Neolithic A ตัวย่อ PPNA) ราว 9,543 ปีก่อนพุทธศักราช (รวมทั้งโบราณสถาน Jericho)
 
เส้น 89 ⟶ 91:
ปัญหาที่ยังเป็นไปตราบเท่าทุกวันนี้อีกอย่างหนึ่งก็คือ [[มลพิษทางดิน|ดินเค็ม]] ซึ่งเป็นการเพิ่มระดับความเข้มข้นของเกลือและแร่ธาตุอื่น ๆ ในดินที่มีประวัติชลประทานเป็นเวลายาวนาน
 
=== การแพร่กระจายของวัฒนธรรมเกษตร ===
=== การปรับพืชสัตว์มาเลี้ยงยุคต้น ๆ ===
มีการปลูก[[ธัญพืช]]ใน[[ซีเรีย]]เริ่มตั้งแต่ 9,000 ปีก่อน
มีการพบลูก[[มะเดื่อ]]ที่ไม่มีเมล็ดในลุ่มแม่น้ำในจอร์แดน ซึ่งแสดงนัยว่า ต้นมะเดื่อได้เริ่มปลูกตั้งแต่ 11,300 ปีก่อน<ref>{{cite web |title=Genographic Project / The Development of Agricultureurl=https://genographic.nationalgeographic.com/development-of-agriculture/ |publisher=nationalgeographic.com }}</ref>
เส้น 105 ⟶ 107:
นอกจากนั้นแล้ว ยังไม่มีหลักฐานที่แสดงอิทธิพลของคน Cro-Magnon ในเขตนี้ ซึ่งต่างจากความคิดที่มีมาก่อน ๆ<ref name="PNAS"/>
 
งานศึกษาเหล่านี้ยังแสดงนัยถึงการแพร่กระจายของคนหลายหลากกลุ่มนี้ไปจากเขตนี้ โดยมีผู้ย้ายถิ่นยุคต้น ๆ ออกไปจากเขต[[ตะวันออกใกล้]]
ทางทิศตะวันตกไปทาง[[ยุโรป]]และ[[แอฟริกาเหนือ]] ทางทิศเหนือไปยังเขต[[คาบสมุทรไครเมีย|ไครเมีย]] และทางทิศตะวันออกไปยัง[[มองโกเลีย]]<ref name="PNAS"/>
โดยเอาข้อปฏิบัติทางเกษตรกรรมไปด้วย และต่อมาได้จับคู่อยู่ร่วมกับชน[[นักล่า-เก็บพืชผล]]ที่ออกไปพบ ในขณะที่สามารถธำรงความเป็นเกษตรกรต่อไป
ซึ่งสนับสนุนงานศึกษาทาง[[พันธุกรรม]]<ref>
{{cite journal |last1 = Chicki |first1 = L |last2 = Nichols |first2 = RA |last3 = Barbujani |first3 = G |last4 = Beaumont |first4 = MA |year = 2002 |title = Y genetic data support the Neolithic demic diffusion model |url = http://www.pnas.org/cgi/reprint/99/17/11008 |journal = Proc. Natl. Acad. Sci. USA |volume = 99 |issue = 17 |pages = 11008-11013 |doi = 10.1073/pnas.162158799}}</ref><ref>
เส้น 134 ⟶ 136:
 
== ดูเพิ่ม ==
* หนังสือ ''[[ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้า]]''
* [[เมโสโปเตเมีย]]
* [[เกษตรกรรม]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{commons category|Fertile Crescent |position = left}}
* [http://news.nationalgeographic.com/news/2001/05/0518_crescent.html ''Ancient Fertile Crescent Almost Gone, Satellite Images Show''] - from [[National Geographic Society|National Geographic]] News, May 18, 2001.
 
{{Authority control}}
{{coord|36.0000|N|40.0000|E|source:wikidata |display = title}}