ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นางเบญกาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Unitedpage (คุย | ส่วนร่วม)
แก้คำว่า "ทศกัณฑ์" เป็น "ทศกัณฐ์"
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Unitedpage (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: แก้ตัวสะกดในคำว่า ทศกัณฑ์ เป็น ทศกัณฐ์
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 21:
 
== ประวัติ ==
นางเบญกาย เป็นธิดาของ[[พิเภก]] กับ[[นางตรีชฎา]]<ref name= "สนุก"/><ref name= "เบญกาย">{{cite web |url=http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=42143|title=เบญกาย (รามเกียรติ์)|author=|date=|work= |publisher=My First Brain|accessdate=27 พฤษภาคม 2557}}</ref><ref name= "สำมนักขา">{{cite web |url=http://www.siamnt.net/ramakien_literature/html/character5.php|title=นางสำมนักขา, สุพรรณมัจฉา, นางเบญกาย, นางมณโฑ, สดายุ|author=|date=|work= |publisher=SiamNT ฝีมือไทย ภูมิปัญญาไทย|accessdate=26 พฤษภาคม 2557}}</ref> โดยพิเภกเป็นน้องชายของ[[ทศกัณฑ์ทศกัณฐ์]]<ref name= "ทศกัณฑ์">{{cite web |url=http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=42578|title=ทศกัณฑ์ (รามเกียรติ์)|author=|date=|work= |publisher=My First Brain|accessdate=26 พฤษภาคม 2557}}</ref> เบญกายจึงเป็นหลานลุงของทศกัณฑ์ทศกัณฐ์ด้วย
 
ทศกัณฑ์ทศกัณฐ์ผู้เป็นลุงได้สั่งให้เธอแปลงกายไปเป็นนางสีดาโดยทำเหมือนว่านางสีดาเป็นศพลอยตามน้ำยังหน้าพลับพลาของพระรามหวังทำลายขวัญและกำลังใจฝ่ายตรงข้าม เมื่อรับคำสั่งนั้นนางเบญกายจึงไปเฝ้าดูนางสีดาแล้วแปลงกายเป็นนางสีดาอย่างแนบเนียน แม้แต่ทศกัณฑ์ทศกัณฐ์เองก็จำไม่ได้ ดังปรากฏความตอนหนึ่ง ความว่า<ref name= "เบญกาย"/>
 
{{บทกวี|indent=1
บรรทัด 32:
|ดำเนินเข้ามาเคียงองค์|ใหลหลงประโลมด้วยวาจา}}
จากนั้นนางก็ทำตามคำบัญชาของทศกัณฑ์ทศกัณฐ์ เมื่อพระรามเห็นศพนางสีดาลอยน้ำมาก็เสียใจมากที่ต้องมาสูญเสียนางอันเป็นที่รักไป พาลต่อว่า[[หนุมาน]]ที่เข้าไปเผากรุงลงกาในคราวนั้น ทศกัณฐ์คงเจ็บใจและสังหารนางสีดาทิ้งเสีย แต่หนุมานทูลให้พระรามเห็นพิรุธนานาประการ อาทิ ศพที่ลอยน้ำจะต้องเป็นศพที่เน่าเปื่อย และศพนางสีดานี้ลอยทวนน้ำขึ้นมานั้นผิดวิสัยของศพที่จะต้องลอยตามกระแสน้ำ จึงทูลขอศพนางสีดานั้นไปเผาไฟ นางเบญกายก็ทนร้อนไม่ไหวจึงกลับคืนร่างเดิมและเหาะขึ้นฟ้าไป แต่หนุมานก็เหาะตามไปจับตัวนางมาได้<ref name= "สนุก"/><ref name= "เบญกาย"/>
โทษของนางเบญกายนั้นถึงประหารชีวิต แต่เนื่องจากพระรามได้ทราบว่านางเบญกายเป็นบุตรสาวของพิเภกผู้มีความยุติธรรม จึงได้ปล่อยนางเบญกายไป โดยให้หนุมานไปส่งนางเบญกายที่กรุงลงกา แต่ระหว่างทางที่หนุมานพานางเบญกายไปส่งยังกรุงลงกานั้น หนุมานซึ่งมีจิตปฏิพัทธ์นางเบญกายแต่แรกที่พบกัน จึงได้เกี้ยวพาราสีนางจนได้นางเบญกายเป็นภรรยา<ref name= "สนุก"/><ref name= "สำมนักขา"/><ref>{{cite web |url=http://www.banramthai.com/html/nang_benyakai.html|title=นางเบญกาย|author=|date=|work= |publisher=บ้านรำไทย|accessdate=27 พฤษภาคม 2557}}</ref>
บรรทัด 38:
ในคราวที่หนุมานมาปราบท้าวมหาบาลซึ่งบุกมาที่กรุงลงกา หนุมานได้เข้าไปพำนักกับนางเบญกายด้วย ทำให้ในเวลาต่อมา นางเบญกายได้ให้กำเนิดบุตรชายนามว่า ''[[อสุรผัด]]''<ref name= "สนุก"/><ref name= "สำมนักขา"/> มีหน้าเป็นวานร และมีกายเป็นยักษ์
 
ครั้นเมื่อทศกัณฑ์ทศกัณฐ์ทำพิธีตั้งอุโมงค์บำเพ็ญตบะ หนุมาน, สุครีพ และนิลนนท์ ได้รับมอบหมายให้ไปทำลายพิธี โดยนำน้ำล้างเท้าของนางเบญกายไปรดแผ่นหินที่ปิดปากอุโมงค์<ref name= "เบญกาย"/>
 
== อ้างอิง ==