ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชะมด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''ชะมด''' หรือ '''เห็นอ้ม''' ใน[[ภาษาอีสาน]]<ref name="พจ"/> ({{lang-en|Civet}}) เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ใน[[อันดับสัตว์กินเนื้อ]]จำพวกหนึ่ง ที่อยู่ในวงศ์ [[Viverridae]] (ในอดีตเคยจัดให้[[พังพอน]]อยู่ในวงศ์นี้ด้วย<ref name="พจ">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ราชบัณฑิตยสถาน| ชื่อหนังสือ =พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ | URL = | จังหวัด = กรุงเทพมหานคร| พิมพ์ที่ =โรงพิมพ์อักษรเจริญทัศน์ | ปี =2541 | ISBN =974-8122-79-4| จำนวนหน้า =930 | หน้า = 260}}</ref>)
 
โดยคำว่า "ชะมด" ในภาษาไทย สันนิษฐานว่ามาจาก[[ภาษาอาหรับ]]คำว่า "ชะบาด" (الزباد)<ref name="ชะ,f"/>
 
ชะมด มีรูปร่างโดยรวม คือ ใบหน้าแหลม รูปร่างเพรียว ตัวมีสีเทาหรือนํ้าตาล มีลายจุดสีดำตามยาวทั่วตัว หางและขนหางยาวมีลายเป็นปล้อง สามารถยืดหดเล็บได้เหมือนแมว มักออกหากินในเวลากลางคืน เป็นสัตว์ที่กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืชและสัตว์ เป็นสัตว์ที่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพภูมิประเทศได้หลากหลาย โดยสามารถอาศัยอยู่ในชายป่าใกล้ชุมชนหรือแหล่งเกษตรกรรมของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี รวมถึงพื้นที่ชุ่มน้ำคล้าย[[นาก]]ด้วยในบางชนิด<ref name=Veron2006>Veron, G., Gaubert, P., Franklin, N., Jennings, A. P. and Grassman Jr., L. I. (2006). ''A reassessment of the distribution and taxonomy of the Endangered otter civet ''Cynogale bennettii'' (Carnivora: Viverridae) of South-east Asia''. Oryx 40: 42–49.</ref> มีความปราดเปรียวว่องไว หากินทั้งทั้งบนพื้นดินและบนต้นไม้ บางครั้งอาจเข้ามาขโมยเป็ดไก่หรือธัญพืชไปกินเป็นอาหาร โดยในบางชนิดในแอฟริกายังมีพฤติกรรมขโมยกิน[[น้ำตาลโตนด|น้ำตาลสด]]จากกระบอกที่มีผู้ไปรองเก็บมาจากงวง[[ตาล]]ได้อีกด้วย ซึ่งน้ำตาลนี้จะนำไปหมักเพื่อทำน้ำตาลเมา <ref name="หนัง"/>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ชะมด"