ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดสุปัฏนารามวรวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำผ่านการค้นหา: 'ทรงโปรด'→'โปรด'
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน
| full_name = วัดสุปัฏนารามวรวิหาร
เส้น 33 ⟶ 32:
}}
 
'''วัดสุปัฏนารามวรวิหาร''' หรือที่ประชาชนทั่วไปเรียกว่า "'''วัดสุปัฏน์"''' เป็น[[พระอารามหลวง]]ชั้นตรี ชนิดวรวิหาร<ref ตั้งอยู่ที่ริมฝั่งแม่น้ำมูลname="อารามหลวง">ราชกิจจานุเบกษา, [[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2479/D/1029.PDF แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกกรมธรรมการ (ให้ยกวัดสุปัฎนาราม ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี]]อุบล [[จังหวัดอุบลราชธานี เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชะนิดวรวิหาร)]], เล่ม 53, ตอน 0 ง, 16 สิงหาคม 2489, หน้า 1029</ref> เป็นวัดธรรมยุตินิกายธรรมยุติกนิกายแห่งแรกของ[[ภาคอีสาน (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] และจังหวัดอุบลราชธานี โดยได้รับพระราชทานนามวัดจาก[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
 
== พื้นที่ ==
วัดสุปัฏนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 1 ตำบลในเมือง[[อำเภอเมืองอุบลราชธานี]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] มีเนื้อที่ 21 ไร่ 3 งาน 10 ตารางวา โฉนดเลขที่ 1949 ทิศเหนือติดถนนหลวง ทิศใต้ติดแม่น้ำมูล ทิศตะวันออกติดโรงพยาบาลโรคปอด และทิศใต้ติดประปา
 
== ประวัติ ==
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดฯ ให้[[พระพรหมราชวงศา (กุทอง สุวรรณกูฏ)]] สร้างวัดสุปัฏนารามขึ้นสำหรับคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เริ่มแรกมีเนื้อที่กว้าง 3 เส้นเศษ ยาว 5 เส้นเศษ ผูกพัทธสีมาเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2479<ref>''ประวัติพระอารามหลวง เล่ม ๒'', หน้า 313</ref> และยกสถานะเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งแต่วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2479<ref name="อารามหลวง"/>
'''วัดสุปัฏนารามวรวิหาร''' พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร เป็นวัดธรรมยุติกนิกายแห่งแรกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจังหวัดอุบลราชธานี โดยได้รับพระราชทานนามวัดจาก[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 4 แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] และโปรดเกล้า ฯ ให้จัดตั้งวัดสุปัฏน์ขึ้นมาใน ปี พ.ศ.2396 ซึ่งสร้างในสมัย[[พระพรหมราชวงศา]] เจ้าเมืองอุบลราชธานีคนที่ 3 โดยคำว่า "วัดสุปัฏนาราม" นั้นมีความหมาย 2 นัย คือ
* หมายถึง วัดที่มีสถานที่ตั้งเหมาะสมเพื่อเป็นท่าเรืออย่างดี เพราะอยู่ริมฝั่งแม่น้ำมูล สะดวกต่อการเดินทางและการบิณฑบาตรทางน้ำ
* หมายถึง สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่เป็นศาสนสถานเปรียบดังท่าเรือที่ให้มวลมนุษย์ข้ามพ้นโอฆสงสารไปได้
และใน ปี พ.ศ.2478 สมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานนามวัดให้ใหม่สมกับเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ว่า "วัดสุปัฏนารามวรวิหาร"
 
== พระพุทธรูปที่สำคัญ ==
เส้น 50 ⟶ 49:
* ส่วนกลางของตัวพระอุโบสถ เป็นศิลปะแบบเยอรมัน
* ส่วนฐานของพระอุโบสถ เป็นศิลปะแบบขอมโบราณ
 
== ลำดับเจ้าอาวาส ==
ลำดับเจ้าอาวาสวัดสุปัฏนาราม มีดังนี้<ref>''ประวัติพระอารามหลวง เล่ม ๒'', หน้า 314</ref>
# [[พระอธิการดี พนฺธุโล]]
# พระอธิการเพ็ง
# พระอธิการเพชร
# พระอธิการสีโห
# พระอธิการสี
# [[พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)|พระญาณรักขิต (จันทร์ สิริจนฺโท)]]
# [[สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส)|พระโพธิวงศาจารย์ (อ้วน ติสฺโส)]]
# พระครูประจักษ์อุบลคุณ (สุ้ย ญาณาสโย)
# [[พระธรรมบัณฑิต (ญาณ ญาณชาโล)]]
# พระเทพกวี (นัด เสนโก)
# พระโพธิญาณมุนี (ภา ปภาโส)
# พระรัตนมงคลมุนี (ยงยุทธ ตปนิโย)
# พระวิบูลธรรมาภรณ์ (ชาย ชาคโร)
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
* [http://guideubon.com/news/view.php?t=18&s_id=57&d_id=57 ตามหาพระแก้วนพรัตน์ พระแก้วศักดิ์สิทธิ์ 9 องค์แห่งเมืองอุบลราชธานี ]
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
*{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = กองพุทธศาสนสถาน สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ| ชื่อหนังสือ = ประวัติพระอารามหลวง เล่ม ๒ | จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ| ปี = 2548| จำนวนหน้า = 622| หน้า = 313-314}}
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เรียงลำดับ|สุปัฏนารามวรวิหาร}}
{{สร้างปี|2479}}
[[หมวดหมู่:วัดไทยในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย]]
[[หมวดหมู่:วัดในจังหวัดอุบลราชธานี]]
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร]]