ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาพุทธ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
XIphanuwat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 6422031 สร้างโดย XIphanuwat (พูดคุย)
บรรทัด 50:
 
ศาสนาพุทธสอนว่า [[ปรมัตถธรรม]] หรือสรรพสิ่งมี 4 อย่างคือ [[จิต]] [[เจตสิก]] [[รูป]] [[นิพพาน]] จึงปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้า (เพราะพระเป็นเจ้าจัดเข้าในปรมัตถธรรมไม่ได้) และเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎแห่งธรรมชาติหรือ[[ธรรมนิยาม|นิยาม5]] ประการ คือ อุตุนิยาม พีชนิยาม จิตนิยาม กรรมนิยาม ธรรมนิยาม
 
=== วัฏสงสาร ===
{{บทความหลัก|วัฏสงสาร}}
 
=== กฎแห่งกรรม ===
เส้น 64 ⟶ 67:
# [[ทุกขัง]] (ความทนอยู่อย่างเดิมได้ยาก)
# [[อนัตตา]] (ความไม่มีแก่นสาระ)
 
[[ไฟล์:Bhavachakra.jpg|thumb|right|รูปภวจักร หรือสังสารจักรของ[[ทิเบต]] แสดงถึง[[อวิชชา]] ได้แก่ผลของการขาดปัญญาในการรู้ทันเหตุเกิดแห่งทุกข์ (สมุทัย) ทำให้ต้องจมเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในกองทุกข์ทั้งปวงไม่จบสิ้น]]
 
'''เหตุแห่งทุกข์ (สมุทัย) ''' ได้แก่ [[ปฏิจจสมุปบาท]] ('''หลักศรัทธาของพุทธศาสนา''') พุทธศาสนา สอนว่า ความทุกข์ ไม่ได้เกิดจากสิ่งใดดลบันดาล หากเกิดแต่เหตุและปัจจัยต่างๆ มาประชุมพร้อมกัน โดยมีรากเหง้ามาจากความไม่รู้หรือ [[อวิชชา]] ทำให้กระบวนการต่างๆ ไม่ขาดตอน เพราะนามธาตุที่เป็นไปตามกฎนิยาม ตามกระบวนการที่เรียกว่า[[มหาปัฏฐาน]] ทำให้เกิด[[สังขาร]][[เจตสิก]]กฎเกณฑ์การปรุงแต่งซึ่งเป็นข้อมูลอันเป็นดุจพันธุกรรมของจิต วิวัฒนาการเป็น[[ธรรมธาตุ]]อันเป็นระบบการทำงานของนามขันธ์ที่ประกอบกันเป็น[[จิต (ศาสนาพุทธ)|จิต]] ( อันเป็นสภาวะที่รับรู้และเป็นไปตามเจตสิกของนามธาตุ) และเป็น[[วิญญาณ]][[ขันธ์]] ที่พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นธาตุแสง (รังสิโยธาตุ) อันเกิดจากการทำงานของนามธาตุอย่างเป็นระบบ จนสามารถประสานหรือกำหนดกฎเกณฑ์รูปขันธ์ ของชีวิตินทรีย์ (เช่นไวรัส แบคทีเรีย ต้นไม้ เซลล์ ที่มีชีวิตขึ้นมาเพราะกฎพีชนิยาม) ทำให้เหตุผลของรูปขันธ์เป็นไปตามเหตุผลของนามขันธ์ด้วย (จิตเป็นนายกายเป็นบ่าว) ทำให้รูปขันธ์ที่เป็นชีวิตินทรีย์พัฒนามีร่างกายที่สลับซับซ้อนมีระบบการทำงานจนเกิดมี[[ปสาทรูป]] 5 รวมการรับรู้ทาง[[มโน]]ทวารอีก 1 เป็น[[อายตนะ]]ทั้ง 6