ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ใยแก้วนำแสง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ฐิติรัตน์ (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเนื้อหาข้อมูลการแบ่งลักาณะการใช้งานของสาย Fiber Optic
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Fibreoptic.jpg|thumb|ใยแก้วนำแสง]]'''ใยแก้วนำแสง''' หรือ '''ออปติกไฟเบอร์''' หรือ '''ไฟเบอร์ออปติก''' เป็นแก้วหรือพลาสติกคุณภาพสูง ยืดหยุ่นโค้งงอได้ เส้นผ่านศูนย์กลางเพียง 8-10 ไมครอน<ref>[www.itu.int/dms_pub/itu-t/opb/.../T-HDB-OUT.10-2009-1-PDF-E.pdf], ITU Standard</ref> (10 ไมครอน = 10 ในล้านส่วนของเมตร =10x10^-6=0.00001 เมตร = 0.01 มม.) เล็กกว่าเส้นผมที่มีขนาด 40-120 ไมครอน, กระดาษ 100 ไมครอน<ref>[http://wiki.answers.com/Q/What_is_the_size_of_a_human_hair], ขนาดเส้นผมมนุษย์</ref> ใยแก้วนำแสงทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการส่งแสงจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง ด้วยความเร็วเกือบเท่าแสง เมื่อนำมาใช้ในการสื่อสารโทรคมนาคม ทำให้สามารถส่ง-รับข้อมูลได้เร็วมาก ได้ระยะทางได้เกิน 100 กม.ในหนึ่งช่วง และเนื่องจากแสงเป็นตัวนำส่งข้อมูล ทำให้สัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าภายนอก ไม่สามารถรบกวนความชัดเจนของข้อมูลได้ ใยแก้วนำแสงจึงถูกนำมาใช้แทนตัวกลางอื่นๆในการส่งข้อมูล
[[ไฟล์:Fibreoptic.jpg|thumb|ใยแก้วนำแสง]]
'''ใยแก้วนำแสง''' หรือ '''ออปติกไฟเบอร์''' หรือ '''ไฟเบอร์ออปติก''' เป็นแก้วหรือพลาสติกคุณภาพสูง ยืดหยุ่นโค้งงอได้ เส้นผ่านศูนย์กลางเพียง 8-10 ไมครอน<ref>[www.itu.int/dms_pub/itu-t/opb/.../T-HDB-OUT.10-2009-1-PDF-E.pdf], ITU Standard</ref> (10 ไมครอน = 10 ในล้านส่วนของเมตร =10x10^-6=0.00001 เมตร = 0.01 มม.) เล็กกว่าเส้นผมที่มีขนาด 40-120 ไมครอน, กระดาษ 100 ไมครอน<ref>[http://wiki.answers.com/Q/What_is_the_size_of_a_human_hair], ขนาดเส้นผมมนุษย์</ref> ใยแก้วนำแสงทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการส่งแสงจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง ด้วยความเร็วเกือบเท่าแสง เมื่อนำมาใช้ในการสื่อสารโทรคมนาคม ทำให้สามารถส่ง-รับข้อมูลได้เร็วมาก ได้ระยะทางได้เกิน 100 กม.ในหนึ่งช่วง และเนื่องจากแสงเป็นตัวนำส่งข้อมูล ทำให้สัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าภายนอก ไม่สามารถรบกวนความชัดเจนของข้อมูลได้ ใยแก้วนำแสงจึงถูกนำมาใช้แทนตัวกลางอื่นๆในการส่งข้อมูล
 
==ชนิดของใยแก้วนำแสง==
เส้น 82 ⟶ 81:
[[ไฟล์:Mini GBIC Transceiver IMGP7823 wp.jpg|thumb|ตัวอย่าง SFP]]
==การนำไปใช้งาน==
ใช้เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูลด้านสื่อสารโทรคมนาคม เช่น[[สวิทช์]]. [[เครือข่ายเชิงแสงแบบพาสซีพ]](Passive Optical Network)
ใช้ในการส่งข่าว
 
== การแบ่งลักษณะการใช้งานของสาย Fiber Optic<ref name=":0">http://www.technetinfo.co.th/knowlage/78-about-fiber-optic.html</ref> ==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Optical fiber}}
 
==== 1. Tight Buffer เป็นสายไฟเบอร์แบบเดินภายในอาคาร (Indoor) ====
โดยมีการหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งให้มี ความหนา 900 ไมครอน ( 1 ไมครอน = 0.001 มิลลิเมตร ) เพื่อสะดวกในการใช้งานและป้องกันสายไฟเบอร์ ในการติดตั้ง ปริมาณของเส้นใยแก้วบรรจุอยู่ไม่มากนัก เช่น 4,6,8 Core ส่วนสายที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์จะมีขนาด 1 Core ซึ่งเรียกว่า Simplex ขนาด 2 Core เรียกว่า Zip Core
 
==== 2. Loose Tube เป็นสายไฟเบอร์ที่ออกแบบมาใช้เดินภายนอกอาคาร (Outdoor) ====
โดยการนำสายไฟ เบอร์มาไว้ในแท่งพลาสติก และใส่เยลกันน้ำเข้าไป เพื่อป้องกันไม่ให้สัมผัสกับแรงต่างๆ อีกทั้งยังกันน้ำซึมเข้าภายในสาย สายแบบ Outdoor ยังแบ่งตามลักษณะการใช้งานได้อีกดังนี้
 
2.1 Duct Cable เป็นสาย Fiber Optic แบบร้อยท่อ โครงสร้างของสายไม่มีส่วนใดเป็นตัวนำ ไฟฟ้า ซึ่งจะไม่มีปัญหาเรื่องฟ้าผ่า แต่จะมีความแข็งแรงทนทานน้อย ในการติดตั้งจึงควรร้อยไปในท่อ Conduit หรือ HDPE (High-Density-Polyethylene)
 
2.2 Direct Burial เป็นสาย Fiber Optic ที่ออกแบบมาให้สามารถใช้ฝังดินได้โดยไม่ต้องร้อยท่อ โดยโครงสร้างของสายจะมีส่วนของ Steel Armored เกราะ ช่วยป้องกัน และเพิ่มความแข็งแรงให้สาย
 
2.3 Figure - 8 เป็นสายไฟเบอร์ที่ใช้แขวนโยงระหว่างเสา โดยมีส่วนที่เป็นลวดสลิงทำหน้าที่รับ แรงดึงและประคองสาย  จึงทำให้สายมีรูปร่างหน้าตัดแบบเลข 8 จึงเรียกว่า Figure - 8
 
2.4 ADSS (All Dielectric Self Support)  เป็นสายไฟเบอร์ ที่สามารถโยงระหว่างเสาได้ โดยไม่ต้องมีลวดสลิงเพื่อประคองสาย เนื่องจาก โครงสร้างของสายประเภทนี้ ได้ถูกออกแบบให้ เป็น Double Jacket จึงทำให้มีความแข็งแรงสูง
 
==== 3. สายแบบ Indoor/Outdoor ====
เป็นสายเคเบิลใยแก้วที่สามารถเดินได้ทั้งภายนอกและภายในอาคาร เป็นสายที่มีคุณสมบัติพิเศษที่เรียกว่า Low Smoke Zero Halogen (LSZH) ซึ่งเมื่อเกิดอัคคีภัย จะเกิดควันน้อยและควันไม่เป็นพิษ เมื่อเทียบกับ Jacket ของสายชนิดอื่น ที่จะลามไฟง่ายและเกิดควันพิษ เนื่องจากการเดินสาย ในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเดินภายนอกอาคาร ด้วยสาย Outdoor แล้วเข้า อาคาร ซึ่งผิดมาตรฐานสากล ดังนั้นจึงควรใช้สายประเภทนี้เมื่อมีการเดิน จากภายนอกเข้าสู่ภายใน 
== อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}4.<ref name=":0" />http://www.technetinfo.co.th/knowlage/78-about-fiber-optic.html
[[หมวดหมู่:ใยแก้วนำแสง]]
[[หมวดหมู่:อุปกรณ์ทางโทรคมนาคม]]