ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรมอญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
กล่องข้อมูลจากwiki english และเพื่มอ้างอิง
เพื่มเนื้อหาและอ้างอิง
บรรทัด 25:
{{อักษรพม่า}}
=====สมัยกลาง =====
# จารึกในประเทศพม่าภาคเหนือ ส่วนมากได้จากเมืองพะขัน และเมืองแปร [[ศิลาจารึก]]เหล่านี้ สร้างขึ้นในรัชสมัยของ[[พระเจ้าอโนรธา]] กษัตริย์[[อาณาจักรพุกาม|พุกาม]]ประมาณ พ.ศ. 1600 เป็นต้นมา พม่ารับอักษรมอญมาใช้เขียนภาษาพม่าเป็นครั้งแรก
# ศิลาจารึกที่พบที่วัดแห่งหนึ่งในนครจารึกวัดมหาวัน[[จังหวัดลำพูน]] ลักษณะอักษรเป็นจารึกในสมัย[[พุทธศตวรรษที่ 17]] หรือกำหนดอายุจากรูปอักษรมอญโบราณ ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับตัวอักษรที่ปรากฏบนศิลาจารึก”มยเจดีย์” (Mayazedi) ของ[[พระเจ้าจานสิตา]] กษัตริย์พุกาม ซึ่งจารึกไว้เมื่อ พ.ศ.1628 และ 1630 ดังนั้นจารึกหลักนี้จึงน่าจะมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 18]]17 เช่นเดียวกัน<ref>http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=573</ref>
# จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ ๑ (วัดดอนแก้ว) จารึกหลักนี้ถูกพบเมื่อ พ.ศ. 2460 โดยบัญชีทะเบียนพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย จังหวัดลำพูน ระบุว่าพบจารึกดังกล่าวที่วัดดอน ซึ่งอยู่ราว 250 เมตร ทางทิศตะวันออกของเมืองลำพูน ในบริเวณทิศตะวันออกของวัดต้นแก้ว มีรูปอักษรมอญโบราณ อายุราวพุทธศตวรรษที่ 17<ref>http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=543</ref>
# จารึกในประเทศพม่าภาคใต้ เป็นจารึกของพระเจ้าธรรมเจดีย์ (พ.ศ. 2003-2034)
#จารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ ๒ ([[วัดกู่กุด]]) พบที่ฐานพระเจดีย์ด้านทิศตะวันออกของวัดจามเทวีหรือกู่กุด อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน มีรูปอักษรมอญโบราณ อายุราวพุทธศตวรรษที่ 17<ref>http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=546</ref>
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-17 ตัวอักษรได้คลี่คลายจากตัวอักษรปัลลวะ มาเป็นตัวอักษรสีเหลี่ยมคือตัวอักษรที่เรียกว่าอักษรมอญโบราณและเปลี่ยนแปลงขนาดเล็กลงในระยะต่อมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 ก็ได้กลายเป็นอักษรมอญปัจจุบันซึ่งมีลักษณะกลม เกิดจากอิทธิพลของการจารหนังสือโดยใช้เหล็กจารลงบนใบลาน
# จารึกธรรมมิกราชา พบจารึกดังกล่าวที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จังหวัดลำพูน กำหนดอายุจากรูปอักษรมอญโบราณซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับจารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ ๑ (วัดดอนแก้ว) และจารึกพระเจ้าสววาธิสิทธิ ๒ (วัดกู่กุด) ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 17<ref>http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=549</ref>
#จารึกวิหารโพธิ์ลังกา พบจารึกหลักนี้ที่วิหารโพธิ์ลังกา [[วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร]] อำเภอเมือง [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2514 พบว่าภาษาที่ใช้ในจารึกมีทั้งภาษามอญโบราณและพม่าโบราณ โดยมีคำ[[บาลี]][[สันสกฤต]]ปะปน สันนิษฐานว่าน่าจะมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 18-19<ref>http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=556</ref>
# จารึกในประเทศพม่าภาคตอนใต้ เป็นจารึกของพระเจ้าธรรมเจดีย์ (พ.ศ. 2003-2034)
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-17 ตัวอักษรมอญแบบปัลลวะได้คลี่คลายจากตัวอักษรปัลลวะ มาเป็นตัวอักษรสีเหลี่ยมคือตัวอักษรที่เรียกว่าอักษรมอญโบราณและเปลี่ยนแปลงขนาดเล็กลงในระยะต่อมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 ก็ได้จนกลายเป็นอักษรมอญปัจจุบันซึ่งมีลักษณะกลม ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของการจารหนังสือโดยใช้เหล็กจารลงบนใบลาน
 
=====สมัยปัจจุบัน =====
* ภาษามอญปัจจุบัน เป็นภาษาในระยะ[[พุทธศตวรรษที่ 21]] เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน นับเป็นระยะเวลาประมาณ 400 ปีเศษ ในยุคนี้เป็นจารึกในใบลาน
 
== ลักษณะ ==