ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะพร้าว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนพวกขาดความอบอุ่น
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{issues|ปรับภาษา=yes|ต้องการอ้างอิง=yes|โฆษณา=yes|จัดรูปแบบ=yes}}
 
{{ตารางจำแนกพันธุ์
| color = lightgreen
| name = มะพร้าว
|fossil_range = {{Fossil range|55|0}}<small>Earlyต้อนต้น [[Eocene]] – Recentปัจจุบัน</small>
| image = Cocos_nucifera_-_Köhler–s_Medizinal-Pflanzen-187.jpg
| image_caption = Coconut palm (''Cocos nucifera'')
เส้น 20 ⟶ 19:
| binomial_authority = [[Carl Linnaeus|L.]]
}}
'''มะพร้าว''' เป็น[[พืชยืนต้น]]ชนิดหนึ่ง อยู่ในตระกูล[[ปาล์ม]] มะพร้าว เป็นพืชซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ได้ในหลายทาง เช่น น้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อนใช้รับประทาน เนื้อในผลแก่นำไปขูดและคั้นทำกะทิ กะลานำไปประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ เช่น กระบวย โคมไฟ ฯลฯ นอกจากนี้มะพร้าวจัดเป็นพรรณไม้มงคลชนิดหนึ่ง ตามตำราพรหมชาติฉบับหลวง ได้กำหนดให้ปลูกมะพร้าวไว้ทางทิศตะวันออกของบ้าน เพื่อความเป็นสิริมงคล
 
'''มะพร้าว''' เป็น[[พืชยืนต้น]]ชนิดหนึ่ง อยู่ในตระกูล[[ปาล์ม]] มะพร้าว เป็นพืชซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ได้ในหลายทาง เช่น น้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อนใช้รับประทาน เนื้อในผลแก่นำไปขูดและคั้นทำกะทิ กะลานำไปประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ เช่น กระบวย โคมไฟ ฯลฯ นอกจากนี้มะพร้าวจัดเป็นพรรณไม้มงคลชนิดหนึ่ง ตามตำราพรหมชาติฉบับหลวง ได้กำหนดให้ปลูกมะพร้าวไว้ทางทิศตะวันออกของบ้าน เพื่อความเป็นสิริมงคล
{{Nutritional value
| name=เนื้อมะพร้าว| water=47
เส้น 273 ⟶ 272:
 
'''จาวมะพร้าว''' ใช้นำมาเป็นอาหารได้ ในจาวมะพร้าวมีฮอร์โมนออกซิน และฮอร์โมนอื่นๆแต่ มี ฮอร์โมนออกซินปริมาณมากที่สุด ซึ่งเมื่อนำไปคั้น และนำน้ำที่ได้จากจาวมะพร้าว ไปรดต้นพืช จะช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชได้
 
 
[[ไฟล์:Koh Phangan Kokospalmen 8.2001.jpg|ขวา|thumb|ต้นมะพร้าว|200 px]]
เส้น 402 ⟶ 400:
จากผลสำรวจพื้นที่ปลูกมะพร้าวของประเทศพบว่า พื้นที่ปลูกและผลผลิตมะพร้าวมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากพื้นที่บางส่วนถูกทดแทนด้วยปาล์มน้ำมัน โดยปัจจุบันมีพื้นที่ปลูกมะพร้าวอยู่ประมาณ 1.610 ล้านไร่ จาก 2.549 ล้านไร่ในปี 2549 ส่งผลให้พื้นที่เก็บเกี่ยวลดลงเช่นกัน แต่ในทางกลับกันเมื่อพิจารณาถึงผลผลิตพบว่า ผลผลิตมะพร้าวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก 606 กิโลกรัม/ไร่ ในปี 2549 เป็น 1,077 กิโลกรัม/ไร่ ในปี 2550 สำหรับสาเหตุที่ทำให้พื้นที่ปลูกมะพร้าวลดลง เป็นผลมากจากพื้นที่ปลูกมะพร้าวส่วนใหญ่เป็นมะพร้าวอายุมากจึงทำให้ประสิทธิภาพต่อพื้นที่ต่ำ และต้องปลูกทดแทนด้วยพันธุ์ดี รวมทั้งเกษตรกรมีความต้องการมะพร้าวพันธุ์ดีปีละ 2 แสนหน่อ แต่กรมวิชาการเกษตรสามารถผลิตได้ 41,495 หน่อ เนื่องจากขาดแคลนงบประมาณในการขยายสวนแม่พันธุ์และบำรุงรักษาพ่อ-แม่พันธุ์มะพร้าว ขณะเดียวกัน เกษตรกรต้องประสบปัญหาแมลงศัตรูพืชระบาด เช่น แมลงดำหนาม และมีมะพร้าวราคาถูกที่นำเข้ามาทดแทนมะพร้าวผลภายในประเทศ
ดังนั้น กระทรวงเกษตรฯ จึงได้กำหนด 5 แนวทางการพัฒนาพื้นที่ปลูกมะพร้าว คือ
 
1.รักษาระดับพื้นที่ปลูกมะพร้าวคงที่ที่ 1.4 ล้านไร่ และสนับสนุนการปลูกมะพร้าวพันธุ์ดีทดแทนสวนมะพร้าวเดิมหรืออายุมาก
 
2. พัฒนาสายพันธุ์มะพร้าวลูกผสมและส่งเสริมถ่ายทอดต่อให้เกษตรกร รวมทั้งอนุรักษ์เชื้อพันธุ์มะพร้าวพื้นเมือง โดยรัฐสนับสนุนมะพร้าวพันธุ์พื้นเมืองภายในครัวเรือน
 
3. ส่งเสริมการควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยชีววิธี
 
4. ส่งเสริมสนับสนุนการเพิ่มมูลค่ามะพร้าวผ่านสถาบันเกษตรกร โดยรัฐให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ และจัดทำโครงการ
 
5. รณรงค์และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง รวมทั้งสร้างความเชื่อมั่นในการบริโภคและใช้ประโยชน์จากการบริโภคมะพร้าว
 
ปัจจุบันไทยส่งออกมะพร้าวในรูปมะพร้าวฝอย เนื้อมะพร้าวแห้ง น้ำมันมะพร้าว และกะทิสำเร็จรูป ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากความต้องการบริโภคอาหารไทยในต่างประเทศ และความนิยมอาหารไทยของชาวต่างชาติที่เพิ่มขึ้น โดยปี 2550 ตั้งแต่ มค.- ตค. ปริมาณส่งออกกะทิสำเร็จรูปมีเท่ากับ 85,897 ตัน โดยมีตลาดที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป นิวซีแลนด์ และในเอเชีย ขณะเดียวกัน แนวโน้มความต้องการน้ำมันพืชเพิ่มขึ้นทั้งเพื่อการบริโภค และในรูปพลังงานเชื้อเพลิง ดังนั้น ในอนาคตคาดว่าราคาน้ำมันพืชจะมีแนวโน้มสูงขึ้น