ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางการแพทย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
MuanN ย้ายหน้า การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง ไปยัง [[การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง...
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{Infobox interventions
 
| Name = Medical ultrasonography
| Image = Sonographer doing pediatric echocardiography.JPG
| Caption = Sonographer doing pediatric echocardiography
| ICD10 = B?4
| ICD9 = {{ICD9proc|88.7}}
| OPS301 = {{OPS301|3-03...3-05}}
| MeshID = D014463
| OtherCodes =
}}
'''การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]. เรียกข้อมูลวันที่ 8 มี.ค. 2553.</ref> หรือ '''อัลตราซาวด์''' ({{lang-en|ultrasonography}}) หมายถึง คลื่นเสียงความถี่สูงที่มากกว่า 20,000 Hz ในทางการแพทย์หลักการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงหรือ Ultrasounographyคือ การส่งคลื่นเสียงความถี่สูงออกไป จากหัวตรวจ (Transdneer) คลื่นเสียงจะกระทบกับเนื้อเยื่อต่างๆ ซึ่งมีความสามารถในการผ่านและสะท้อนกลับไม่เท่ากัน หัวตรวจจะทำหน้าที่รับสัญญาณคลื่นเสียงที่สะท้อนกลับระดับต่างๆ ซึ่งบ่งถึงความหนาแน่น และระดับความลึกของเนื้อเยื่อนั้นนำสัญญาณที่ได้รับมาประมวลผลและสร้างเป็นภาพขึ้นมา