ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางการแพทย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mos17536 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
 
'''การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]. เรียกข้อมูลวันที่ 8 มี.ค. 2553.</ref> หรือ '''การตรวจอัลตราซาวด์''' ({{lang-en|ultrasonography}}) หมายถึง การตรวจโดยใช้[[ คลื่นเสียงความถี่สูง]]ที่มากกว่า คลื่นเสียงนี้ไม่ก่อให้เกิดอันตรายใด20,000 Hz ในระดับความถี่และปริมาณที่ใช้อยู่ในทางการแพทย์ จึงเป็นที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในการหลักการตรวจเบื้องต้นด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงหรือ Ultrasounographyคือ และการส่งคลื่นเสียงความถี่สูงออกไป จากหัวตรวจวินิจฉัยทั่วไป โดยเฉพาะในเด็กและทารกในครรภ์(Transdneer) เพราะนอกจากคลื่นเสียงจะไม่เป็นอันตรายแล้วกระทบกับเนื้อเยื่อต่างๆ ยังทำซึ่งมีความสามารถในการตรวจได้โดยผู้ป่วยผ่านและสะท้อนกลับไม่รู้สึกเจ็บปวดบริเวณที่เท่ากัน หัวตรวจจะทำหน้าที่รับสัญญาณคลื่นเสียงที่สะท้อนกลับระดับต่างๆ นอกเหนือไปจากแรงกดเพียงเล็กน้อยเท่านั้นซึ่งบ่งถึงความหนาแน่น และระดับความลึกของเนื้อเยื่อนั้นนำสัญญาณที่ได้รับมาประมวลผลและสร้างเป็นภาพขึ้นมา
 
== ประเภทของการบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง ==
บรรทัด 19:
* การตรวจแยกระหว่างก้อนเนื้อและถุงน้ำที่เต้านม และส่วนอื่นๆ ของร่างกาย
* การตรวจเส้นเลือดและ[[ต่อมธัยรอยด์]]
 
== ข้อบ่งชี้ในการตรวจอัลตราซาวด์ ==
* ดูความผิดปกติทั่วๆ ไป เช่น นิ่วในไต, นิ่วในถุงน้ำดี, ก่อนเนื้อในตับ เป็นต้น
* เพื่อยืนยันกับการตรวจอื่นๆ ว่าพบก้อนเนื้อ
* ก้อนเนื้อที่พบเป็นก้อนเนื้อประเภทใด เป็นส่วนของอวัยวะใด หรือติดต่อกับอวัยวะใดบ้าง
* ติดตามดูความเปลี่ยนแลงของรอยโรค
* เพื่อช่วยในการเจาะอวัยวะที่สงสัย เพื่อการวินิจฉัยและการรักษา
* เพื่อดูเพศ, ความผิดปกติ, ขนาดของทารกในครรภ์
* ดูความผิดปกติของเส้นเลือดดำ, เส้นเลือดแดง ว่ามีการอุดตัน, โป่ง หรือขอด เป็นต้น
* ดูจังหวะการเต้น การบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ ลิ้นหัวใจ ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ และเส้นเลือดแดงส่วนต้น (ตรวจโดยผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจโดยเฉพาะ)
* ดูกล้ามเนื้อ ดูเอ็น
* ดูสมองเด็กแรกเกิดถึง 1 ขวบ
 
== ข้อจำกัดของการอัลตร้าซาวด์ ==
* อัลตราซาวด์ไม่สามารถใช้ตรวจอวัยวะส่วนที่มีลมได้ เช่น ปอด กระเพาะอาหาร เป็นต้น ทั้งนี้เพราะอากาศจะไม่สะท้อนคลื่นสัญญาณกลับ ทำให้ไม่สามารถรับสัญญาณมาสร้างภาพได้
* อัลตราซาวด์ไม่สามารถใช้ตรวจอวัยวะที่เป็นกระดูก หรือถูกกระดูกบังได้ เพราะกระดูกจะสะท้อนคลื่นกลับหมด ไม่สามารถทะลุทะลวงลงไปยังอวัยวะต่างๆ ได้
 
== ประโยชน์ของการตรวจอัลตร้าซาวน์ระหว่างการตั้งครรภ์ ==
การตรวจอัลตร้าซาวน์ระหว่างการตั้งครรภ์ มีประโยชน์ในการตรวจความผิดปกติของโครงสร้างของร่างกายทารกในครรภ์และโครงสร้างหลัก ได้แก่ ดูรก สายสะดือ น้ำคล่ำ กระโหลดศรีษะ เนื้อสมอง แขน ขา ช่องอก เนื้อปอด หัวใจ ผนังหน้าห้อง และอวัยวะหลักภายในช่องท้อง การวัดขนาดของทารกจากการตรวจอัลตร้าซาวน์ ยังช่วยในการยืนยันอายุครรภ์ และกำหนดวันคลอดในรายที่มารดาจำประจำเดือนไม่ได้ หรือประจำเดือนไม่แน่นอน ซึ่งจะมีประโยชน์อย่างมากในการดูแลรักษาในช่วงใกล้คลอด ช่วยป้องกันการตั้งครรภ์เกินกำหนด ซึ่งอาจมีผลเสียต่อสุขภาพของทารกในครรภ์ได้
นอกจากนั้นการตรวจอัลตร้าซาวน์ ทำให้แม่ได้เห็นภาพลูกที่เคลื่อนไหวอยู่ในครรภ์ ก่อให้เกิดความรัก ความผูกพันธ์ตั้งแต่บุตรยังไม่คลอด (Material-fetal Bonding) หลายประเภทแถบยุโรปมีนโยบายให้สตรีตั้งครรภ์ทุกรายควรรับการตรวจอัลตร้าซาวน์อย่างน้อยหนึ่งครั้งในช่วงกลางของการตั้งครรภ์ เพื่อเป็นการคัดกรองว่าทารกในครรภ์อยู่ในเกณฑ์ปกติหรือไม่ (Mid-trimester Screening)
ทั้งนี้การตรวจอัลตร้าซาวน์ก็ยังมีข้อจำกัด คือ ความผิดปกติบางอย่างเป็นสิ่งที่วินิจฉัยไม่ได้ โดยเฉพาะความผิดปกติของอวัยวะที่มีขนาดเล็กมาก หัวใจพิการแต่กำเนิดบางประเภทหรือการทำงาน (Function) ของอวัยวะต่าง ๆ เป็นต้น
 
 
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* http://www.phyathai.com/medicalarticledetail/2/27/306/TH
* http://www.phyathai.com/medicalarticledetail/3/40/466/th
 
[[หมวดหมู่:การตรวจทางการแพทย์]]