ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โซ่อาหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thanomsri Tenwong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Thanomsri Tenwong (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Horus
บรรทัด 5:
 
โซ่อาหารปรากฏครั้งแรกในหนังสือตีพิมพ์เมื่อ ค.ศ. 1927 โดย ชาร์ลส์ เอลตัน ผู้เดียวกับที่นำเสนอแนวคิดห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหาร<ref name="Elton27">{{cite book|last=Elton|first=C. S.|title=Animal Ecology|publisher=Sidgwick and Jackson|place=London, UK.|year=1927|isbn=0226206394}}</ref><ref name="Allesina08">{{cite journal | last1=Allesina | first1=S. | last2=Alonso | first2=D. | last3=Pascual | first3=M. | title=A general model for food web structure. | journal=Science | volume=320 | issue=5876 | pages=658–661 | doi=10.1126/science.1156269 | url=http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Secret/PlantGenome/General%20Model%20for%20Food%20WEb%20Structure.pdf}}</ref><ref name="Egerton07">{{cite journal | last1=Egerton | first1=F. N. | year=2007 | title=Understanding food chains and food webs, 1700-1970 | journal=Bulletin of the Ecological Society of America | volume=88 | pages=50–69 | url=http://www.esajournals.org/doi/full/10.1890/0012-9623(2007)88%5B50%3AUFCAFW%5D2.0.CO%3B2 | doi=10.1890/0012-9623(2007)88[50:UFCAFW]2.0.CO;2}}</ref>
ในกลุ่มสิ่งมีชีวิตหนึ่งๆ ห่วงโซ่อาหารไม่ได้ดำเนินไปอย่างอิสระแต่ละห่วงโซ่อาหาร อาจมีความสัมพันธ์กับห่วงโซ่อื่นอีก โดยเป็นความสัมพันธ์ที่สลับซับซ้อน เช่น สิ่งมีชีวิตหนึ่ง ในห่วงโซ่อาหารหนึ่ง อาจเป็นอาหารของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่งในห่วงโซ่อาหารอื่นก็ได้ มีผลทำให้กลุ่มสิ่งมีชีวิตนั้นมีความมั่นคงในการดำรงชีวิตมากตามไปด้วย<ref>http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter1/chapter1_foodchain1.htm</ref>
 
ดวงอาทิตย์เป็นจุดเริ่มต้น ของห่วงโซ่อาหารในแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ต่างก็เป็นส่วนหนึ่งในห่วงโซ่อาหารนี้ เมื่อเชื่อมโยง ห่วงโซ่อาหารข้าด้วนกัน จะเกิดเป็นสายใยอาหาร สิ่งมีชีวิตในสายใยอาหารซึ้งเรียกว่าผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ (Decomposer) จะเป็นผู้ก่อให้เกิดการหมุนเวียน ของแร่ธาตุที่สำคัญ โดยทำให้ซากสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นซากพืชหรือซากสัตว์ เน่าเปื่อย ผุพังสลายตัว กลายเป็นปุ๋ยของพืชต่อไป <ref>http://www.ducksters.com/science/ecosystems/food_chain_and_web.php</ref>
 
ห่วงโซ่อาหาร เป็นการกินต่อกันเป็นทอดๆของสิ่งมีชีวิต พืชและสัตว์จำเป็นต้องได้รับพลังงานเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต โดยพืชจะได้รับพลังงานจากแสงของดวงอาทิตย์โดยใช้รงควัตถุสีเขียวที่เรียกว่า [[คลอโรฟิลล์]] (Chlorophyll) เป็นตัวดูดกลืนพลังงานแสงเพื่อนำมาใช้ในการสร้างอาหาร เช่น [[กลูโคส]] แป้ง ไขมัน โปรตีน สำหรับสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ จำเป็นต้องได้รับพลังงานจากการบริโภคสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร สัตว์จึงถือว่าเป็นผู้บริโภค (Consumer) ซึ่งแบ่งออกได้เป็น
1.ผู้บริโภคลำดับหนึ่ง (Primary consumer) หมายถึง สัตว์ที่กินผู้ผลิต
2.ผู้บริโภคลำดับสอง (Secondary consumer) หมายถึง สัตว์ที่กินผู้บริโภคลำดับที่หนึ่ง
3.ผู้บริโภคลำดับสูงสุด (Top consumer) หมายถึง สัตว์ที่อยู่ปลายสุดของห่วงโซ่อาหาร ซึ่งไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดใดมากินต่อ อาจเรียกว่า ผู้บริโภคลำดับสุดท้าย<ref>http://education.nationalgeographic.org/encyclopedia/food-chain/</ref>
 
 
 
== ดูเพิ่ม ==