ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โซ่อาหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khaniztha Fueangdet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Khaniztha Fueangdet (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Horus
บรรทัด 5:
 
โซ่อาหารปรากฏครั้งแรกในหนังสือตีพิมพ์เมื่อ ค.ศ. 1927 โดย ชาร์ลส์ เอลตัน ผู้เดียวกับที่นำเสนอแนวคิดห่วงโซ่อาหารและสายใยอาหาร<ref name="Elton27">{{cite book|last=Elton|first=C. S.|title=Animal Ecology|publisher=Sidgwick and Jackson|place=London, UK.|year=1927|isbn=0226206394}}</ref><ref name="Allesina08">{{cite journal | last1=Allesina | first1=S. | last2=Alonso | first2=D. | last3=Pascual | first3=M. | title=A general model for food web structure. | journal=Science | volume=320 | issue=5876 | pages=658–661 | doi=10.1126/science.1156269 | url=http://cas.bellarmine.edu/tietjen/Secret/PlantGenome/General%20Model%20for%20Food%20WEb%20Structure.pdf}}</ref><ref name="Egerton07">{{cite journal | last1=Egerton | first1=F. N. | year=2007 | title=Understanding food chains and food webs, 1700-1970 | journal=Bulletin of the Ecological Society of America | volume=88 | pages=50–69 | url=http://www.esajournals.org/doi/full/10.1890/0012-9623(2007)88%5B50%3AUFCAFW%5D2.0.CO%3B2 | doi=10.1890/0012-9623(2007)88[50:UFCAFW]2.0.CO;2}}</ref>
ห่วงโซ่อาหาร (Food chain) ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญ ของทุกระบบนิเวศบนโลก พลังงานแสงที่ได้จากดวงอาทิตย์จะมีการเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานศักดิ์ ซึ่งทำให้พืชเกิดกระบวนการสังเคราะห์แสงและมีการสะสมสารอาหารไว้ เพื่อที่จะถ่ายทอดไปยังผู้บริโภคลำดับต่อไป การถ่ายทอดพลังงานเป็นลำดับแบบเส้นตรงหรือวงกลมหัวลูกศรจะหันไปทางผู้บริโภค ผู้บริโภคจะบริโภคผู้ผลิตเพียงชนิดเดียว จะเรียกว่า ห่วงโซ่อาหาร (Food chain) ถ้าในกรณีผู้ผลิตหรือผู้บริโภคลำดับใดหายไปจากวงจะทำให้ห่วงโซ่เกิดปัญหา ซึ่งภายในห่วงโซ่จะมีความสัมพันธ์กันแบบไม่ซับซ้อน และยังเป็นเส้นตรงส่วนหนึ่งในสายใยอาหาร การที่พลังงานถูกถ่ายทอดจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งไปสู้อีกชีวิตหนึ่ง โดยเริ่มจากดวงอาทิตย์ให้พลังงานแสงแก่พืชทำให้เกิดกระบวนการสังเคราะห์แสงและมีการสะสมสารอาหารไว้ภายใน พืชถือเป็นผู้ผลิต (producers)ลำดับแรกในลำห่วงโซ่อาหาร หลังจากนั้นจะมีผู้บริโภคปฐมภูมิหรืออันดับแรก (Primary consumers) สัตว์ที่กินพืชเป็นอาหารโดยตรง ดังนั้นจะเรียกสัตว์พวกนี้ว่าสัตว์กินพืช(herbivores) เช่น กวาง ม้า วัว และยีราฟ และต่อมาก็จะมีผู้บริโภคทุติยภูมิหรือสัตว์ที่กินผู้บริโภคอันดับแรกเป็นอาหาร (Secondary consumer) จะมีได้ทั้งสัตว์ที่กินเนื้ออย่างเดียว(Carnivores) และสัตว์ที่กินทั้งเนื้อและพืช(Omnivores) และผู้บริโภคลำดับที่สามจะกินผู้บริโภคลำดับสอง (tertiary consumer ) จะได้รับการถ่ายทอดพลังงานเป็นทอดๆอย่างนี้ไปเรื่อยๆ เกิดเป็นห่วงโซ่อาหารในระบบนิเวศและการถ่ายทอดพลังงานในรูปของสารอาหารตามขั้นของผู้บริโภค<ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/Ebook/BOOK17/book17_3/Default.html</ref>
 
 
== ดูเพิ่ม ==