ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แบตเตอรี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 40:
 
[[อาเลสซานโดร โวลตา]] ได้สร้างและได้อธิบายแบตเตอรี่ไฟฟ้าเคมีตัวแรก [[voltaic pile]] ในปี 1800.<ref>Bellis, Mary. [http://inventors.about.com/library/inventors/bl_Alessandro_Volta.htm Alessandro Volta – Biography of Alessandro Volta – Stored Electricity and the First Battery]. ''About.com''. Retrieved 7 August 2008.</ref> นี่เป็นชั้นซ้อนกันของแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสี คั่นโดยจานกระดาษชุ่มด้วยน้ำเกลือ มันสามารถผลิตกระแสที่คงที่ได้เป็นเวลานานทีเดียว โวลตาไม่ได้พอใจที่โวลเตจเกิดจากปฏิกริยาเคมี เขาคิดว่าเซลล์ของเขาเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้ไม่หมด<ref>Stinner, Arthur. [http://home.cc.umanitoba.ca/~stinner/stinner/pdfs/2007-alessandro.pdf Alessandro Volta and Luigi Galvani] (PDF). Retrieved 11 August 2008.</ref> และการกัดกร่อนที่กระทบต่อขั้วไฟฟ้าทั้งสองเป็นเพียงสิ่งรบกวน มากกว่าจะเป็นผลตามมาที่ไม่อาจเลี่ยงได้ของการปฏิบัติงานของพวกมัน อย่างที่ [[ไมเคิล ฟาราเดย์]] แสดงให้เห็นในปี 1834.<ref>[http://www.ideafinder.com/history/inventions/battery.htm Electric Battery History – Invention of the Electric Battery]. ''The Great Idea Finder''. Retrieved 11 August 2008.</ref>
 
แม้ว่าแบตเตอรี่ในช่วงต้นต้นจะมีประโยชน์อย่างมากสำหรับวัตถุประสงค์ด้านการทดลองก็ตาม แต่ในทางปฏิบัติแล้วแรงดันไฟฟ้าของพวกมันมีความผันผวนและพวกมันก็ไม่สามารถให้กระแสขนาดใหญ่ได้เป็นระยะเวลาอย่างต่อเนื่อง ส่วน [[เซลล์ของนีลล์]] ที่คิดค้นได้ในปี 1836 โดยนักเคมีชาวอังกฤษ [[จอห์น เฟรเดอริก นีลล์]] เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าในทางปฏิบัติครั้งแรก และกลายเป็นมาตรฐานอุตสาหกรรมและได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นแหล่งพลังงานสำหรับเครือข่าย [[โทรเลขไฟฟ้า]]<ref>[http://www.mpoweruk.com/history.htm#daniell Battery History, Technology, Applications and Development]. ''MPower Solutions Ltd''. Retrieved 19 March 2007.</ref> เซลล์ของนีลล์ประกอบด้วยหม้อทองแดงที่เติมเต็มด้วยสารละลาย [[คอปเปอร์ซัลเฟต]] ที่แช่ด้วยภาชนะ [[ดินเผา]] เคลือบที่เติมเต็มด้วย [[กรดกำมะถัน]] และขั้วไฟฟ้าสังกะสี<ref>{{cite web |title=History of the electrical units |first=Gérard |last=Borvon |date=10 September 2012 |publisher=Association S-EAU-S |url=http://seaus.free.fr/spip.php?article964}}</ref>
 
เซลล์เปียกเหล่านี้ใช้อิเล็กโทรไลต์เป็นของเหลว ซึ่งมีแนวโน้มที่จะรั่วไหลและหกหากไม่ถือไปมาอย่างถูกต้อง หลายเซลล์ใช้โหลแก้วเพื่อยึดชิ้นส่วนของพวกมันไว้ ซึ่งทำให้พวกมันเปราะบาง ลักษณะเหล่านี้ทำให้เซลล์เปียกไม่เหมาะสมสำหรับการใช้ที่ต้องเคลื่อนย้ายไปมา เมื่อใกล้จุดสิ้นสุดของศตวรรษที่สิบเก้า การประดิษฐ์ขึ้นของ [[เซลล์แห้ง|แบตเตอรี่เซลล์แห้ง]] ซึ่งได้แทนที่อิเล็กโทรไลต์ของเหลวด้วยสารที่เป็นของแข็งกว่า ทำให้อุปกรณ์ไฟฟ้าแบบพกพาสามารถทำได้ในทางปฏิบัติ<ref>{{cite web |url = http://portal.acs.org/portal/PublicWebSite/education/whatischemistry/landmarks/drycellbattery/index.htm |title = Columbia Dry Cell Battery |publisher = American Chemical Society |work = National Historic Chemical Landmarks |accessdate= 25 March 2013}}</ref>
 
== หลักการทำงาน ==