ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เวเลนซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38:
==นิยาม==
 
โดยนิยามตามหนังสือเล่มสีทอง (Gold Book) ของ[[สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ]] (IUPAC) ได้ให้นิยามคำว่าเวเลนซ์ว่า "'''เวเลนซ์ คือ จำนวนอะตอมยูนิเวเลนซ์ (มีที่มาจากอะตอม[[ไฮโดรเจน]]หรืออะตอม[[คลอรีน]]) สูงสุดที่อาจรวมกับอะตอมหนึ่งๆของธาตุที่กำลังพิจารณา โดยที่อะตอมของธาตุนั้นๆจะสามารถถูกแทนที่ได้'''" <ref>'''IUPAC Compendium of Chemical Terminology''', 2nd ed. (the "Gold Book"). Compiled by A. D. McNaught and A. Wilkinson. Blackwell Scientific Publications, Oxford (1997).ISBN 0-9678550-9-8.</ref>
 
อย่างไรก็ตาม มีการนิยามคำว่าเวเลนซ์ในหนังสืออื่นๆเช่น "'''เวเลนซ์ คือ จำนวนอะตอมไฮโดรเจนที่สามารถรวมตัวกับธาตุหนึ่งๆใน[[สารประกอบ]]ธาตุคู่ไฮไดรด์ (binary hydride) หรือสองเท่าของจำนวนอะตอม[[ออกซิเจน]]ที่รวมกับธาตุนั้นๆใน[[สารประกอบออกไซด์]]ชนิดหนึ่งๆหรือหลายชนิด'''"<ref>Greenwood, Norman N.; Earnshaw, Alan (1997). '''Chemistry of the Elements''' (2nd ed.). Butterworth-Heinemann. ISBN 0-08-037941-9.</ref> ซึ่งจะเห็นได้ว่านิยามอย่างหลังได้ขยายความอีกนัยหนึ่งว่าเวเลนซ์ของอะตอมธาตุชนิดหนึ่งๆอาจมีได้หลายค่านั่นเอง
==เวเลนซ์ทั่วไปของธาตุในตารางธาตุ==
==เวเลนซ์โดยทั่วไปของธาตุในตารางธาตุ==
 
สำหรับธาตุหมู่หลัก (main groups) เวเลนซ์ของอะตอมอาจจะเป็นไปได้ตั้งแต่ 1 ถึง 7 ดังตาราง
เส้น 46 ⟶ 48:
{| class="wikitable"
|-
! หมู่ !! เวเลนซ์ 1 !! เวเลนซ์ 2 !! เวเลนซ์ 3 !! เวเลนซ์ 4!! เวเลนซ์ 5!! เวเลนซ์ 6!! เวเลนซ์ 7!! เวเลนซ์ทั่วไปเวเลนซ์โดยทั่วไป
|-
| 1 || NaCl || || || || || || || 1
เส้น 63 ⟶ 65:
|}
 
ธาตุในตารางธาตุหลายชนิดโดยเฉพาะธาตุหมู่หลักเราสามารถทำนายเวเลนซีของอะตอมได้จากตำแหน่งในตารางธาตุ เช่น [[ธาตุหมู่ 1]] และ [[ธาตุหมู่ 17]] มีเวเลนซ์โดยทั่วไปเท่ากับ 1 [[ธาตุหมู่ 2]] และ[[ธาตุหมู่ 16]] มีเวเลนซ์โดยทั่วไปเท่ากับ 2 [[ธาตุหมู่ 13]] และ[[ธาตุหมู่ 15]] มีเวเลนซ์โดยทั่วไปเท่ากับ 3 เป็นต้น ซึ่งการทำนายนี้เป็นไปตาม[[กฎออกเตต]] (octet rule) การบอกจำนวนเวเลนซ์โดยทั่วไปมักจะใช้เลขละตินหรือกรีกเป็นคำนำหน้า เช่น ยูนิ-/มอนอ- (uni-/mono-) ไบ-/ได- (bi-/di-) เทอร์-/ไตร- (ter-/tri-) ควอดริ-/เตตระ- (quadri-/tetra-) ควินควิ-/เพนตะ- (quinque-/penta-) แทนเวเลนซ์เท่ากับ 1 2 3 4 และ 5 ตามลำดับ ตัวอย่างเช่น [[ซัลเฟต]]ไอออน (SO<sub>4</sub><sup>2-</sup>) จัดเป็น ไอออนลบไดเวเลนต์ หรือ ไอออนลบไบเวเลนต์ เป็นต้น
==อ้างอิง==