ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยบูรพคดีศึกษาและการศึกษาแอฟริกา มหาวิทยาลัยลอนดอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
| native_language =
| native_name =
| en_name = School of Oriental and African Studies, University of London
| image = [[File:SOAS logo.jpg|250px]]
| caption =
| address = ลอนดอน สหราชอาณาจักร
บรรทัด 27:
}}
 
'''วิทยาลัยบูรพคดีศึกษาและการศึกษาแอฟริกา''' ({{lang-en|School of Oriental and African Studies, SOAS}}) เป็นหนึ่งในวิทยาลัยที่สังกัด[[มหาวิทยาลัยลอนดอน]] โซแอสนั้นได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสถาบันที่มีชื่อเสียงระดับแนวหน้าของโลกด้านสาขา[[ประวัติศาสตร์]] [[ภาษา]] [[วรรณคดี]] [[ศาสนา]] [[เศรษฐกิจ]] สังคมและการเมืองของบรรดาประเทศใน[[เอเชีย]] [[แอฟริกา]] และ[[ตะวันออกกลาง]]
 
ตามประวัติกล่าวว่าโซแอสวิทยาลัยฯ เคยเป็นสถานที่ฝึกอบรมบรรดานายทหารชาวอังกฤษที่จะไปปกครองประเทศเมืองขึ้นในแถบ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] จึงต้องสรรหานักวิชาการมาทำวิจัยด้านประวัติศาสตร์ การเมือง การเศรษฐกิจและภูมิศาสตร์ของประเทศเหล่านี้ไว้ เพื่อประโยชน์ในการกำหนดยุทธศาสตร์ทางทหาร แต่ในปัจจุบัน สถาบันดังกล่าวนี้ได้กลายเป็นแหล่งค้นคว้าด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สำคัญเช่นเดียวกับ[[มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์]]ในสหรัฐอเมริกา, [[มหาวิทยาลัยปารีส]]ในฝรั่งเศส, [[มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย]], [[มหาวิทยาลัยเกียวโต]]ในญี่ปุ่น และ[[มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์]] เป็นต้น
 
โซแอสมีวิทยาลัยฯ มีที่พักสำหรับนักศึกษาเป็นของตัวเอง เพราะเหตุที่เปิดสอนวิชาเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมของเอเชีย จึงมีนักศึกษาต่างชาติโดยเฉพาะจากเอเชียเข้าไปศึกษาเป็นจำนวนมาก ตัววิทยาลัยตั้งอยู่ที่[[รัสเซลล์สแควร์]] ใจกลาง[[ลอนดอน|กรุงลอนดอน]] ใกล้กับพิพิธภัณฑ์แห่งชาติและหอสมุดแห่งชาติ
 
== วารสารทางวิชาการที่โดดเด่น ==
โซแอสวิทยาลัยฯ ได้ผลิตวารสารวิชาการที่กล่าวได้ว่ามีชื่อเสียงที่สุดของสถาบันคือ Bulletin of the School of Oriental and African Studies (BSOAS) วารสารนี้ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายว่ามีมาตรฐานทางวิชาการสูงสุด ในวารสารเล่มนี้ มีบทความทั้งเรื่อง [[การเมือง]] วรรณคดี ภาษา [[วัฒนธรรม]] และ[[ปรัชญา]]การใช้ชีวิตของชาวเอเชีย ทำให้วารสารนี้เป็นวารสารวิชาการที่น่าติดตามอ่านมากที่สุดเล่มหนึ่งของโลกในปัจจุบัน เช่นเดียวกับวารสารสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ ({{lang|fr|''Bulletin de l'École Française d'Extrême-Orient''}}) ซึ่งสร้างชื่อให้ฝรั่งเศสด้านบูรพคดีศึกษาเป็นอย่างมาก
 
== วิทยาลัยฯ กับไทย ==
== โซแอสกับไทย ==
โซแอสวิทยาลัยฯ เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งเดียวในสหราชอาณาจักรที่มีภาควิชา[[ภาษาไทย]] มีการเรียนการสอนภาษาและ[[:หมวดหมู่:วรรณคดีไทย|วรรณคดีไทย]] รวมทั้ง[[ดนตรีไทย]]ด้วย นอกจากนี้ยังเปิดสอนภาษาและวรรณคดี[[เขมร]] [[บาลี]] [[สันสกฤต]] ในอดีตมีนักสันสกฤตไทยหลายท่านมาศึกษาอยู่ที่โซแอสแห่งนี้วิทยาลัยฯ แห่งนี้ อาทิ [[จิรายุ นพวงศ์|ศ. ม.ล.จิรายุ นพวงศ์]], [[ปิ่น มาลากุล|ศ. ม.ล.ปิ่น มาลากุล]]
 
ปัจจุบันนี้ [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี]] ทรงเป็นอาจารย์กิตติมศักดิ์ (Honorary Fellow) ประจำสถาบันนี้ด้วย และเสด็จมาร่วมทรงดนตรีไทยกับคณาจารย์ผู้ชำนาญ[[ดนตรีไทย]]และนักศึกษาที่ศึกษา[[ดนตรีไทย]]ของโซแอสนี้วิทยาลัยฯ เป็นประจำทุกปี ห้องสมุดของโซแอสวิทยาลัยฯ เป็นสถานที่ซึ่งรวบรวมตำรับตำราทางวิชาการ, [[:หมวดหมู่:วรรณคดีไทย|วรรณคดีไทย]], [[ภาษาไทย]], [[นวนิยายไทย]]และ[[ประวัติศาสตร์ไทย]]ไว้มากที่สุด ในบรรดา[[มหาวิทยาลัย]]ทั้งหลายใน[[อังกฤษ]] จัดเป็นแหล่งศึกษาวิชาไทยคดีศึกษาที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก
 
ศิษย์เก่าชาวไทยที่มีชื่อเสียง เช่น [[พระศรีญาณโสภณ (ปิยโสภณ)]] [[วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก]], [[หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์|ศ. ม.ล.จิรายุ นพวงศ์]], [[หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล|ศ. ม.ล.ปิ่น มาลากุล]], [[กาญจนา นาคสกุล|ศ.ดร. กาญจนา นาคสกุล]], [[ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ|ดร. ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ]], [[มัทนี รัตนิน|ศ.ดร. มัทนี รัตนิน]], [[มณีปิ่น พรหมสุทธิรักษ์|ผศ.ดร. มณีปิ่น พรหมสุทธิรักษ์]], [[ใจ อึ๊งภากรณ์|รศ. ใจ อึ๊งภากรณ์]], [[ใกล้รุ่ง อามระดิษ|ดร. ใกล้รุ่ง อามระดิษ]], [[ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์|ผศ.ดร. ปฐมพงษ์ โพธิ์ประสิทธินันท์]], [[กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด|รศ.ดร. กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด]], [[มนธิรา ราโท|ผศ.ดร. มนธิรา ราโท]], [[สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา|รศ.ดร. สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา]]