ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิเถี่ยว จิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Minhnguyenhuyen (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
| successor = [[สมเด็จพระจักรพรรดิตึ ดึ๊ก]]
| spouse = สมเด็จพระจักรพรรดินีงี เทียน
|issue=[[สมเด็จพระจักรพรรดิตึ ดึ๊ก|เจ้าชายเหงียน ฟุก ห่ง เญิมเหญิ่ม]]<br>[[สมเด็จพระจักรพรรดิเหียป ฮหว่า|เจ้าชายเหงียน ฟุก ห่ง เสิ่ต]]<br>และพระราชโอรสอีก 27 พระองค์และพระราชธิดาอีก 35 พระองค์
| house = [[ราชวงศ์เหงียน]]
| father = [[สมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง]]
| mother = สมเด็จพระจักรพรรดินีต๊า เทียน
| birth_date = 16 มิดถุนามิถุนายน ค.ศ. 1807
| birth_place = ฝูซวนฟู้ซวน อาณาจักรด๋ายนั่มดั่ยนาม
| death_date = {{death date and age|1847|11|4|1807|6|16|df=yes}}
| death_place = ฝูซวนฟู้ซวน อาณาจักรด๋ายนั่มดั่ยนาม
| place of burial = พระราชสุสานเซือง หลั่งหลวงเซืองลัง
| religion = [[ลัทธิขงจื๊อ|ขงจื๊อ]]
| signature = Nguyen Imperial Pennon (m1).png}}
 
'''สมเด็จพระจักรพรรดิเถี่ยว จิ''' ({{lang-vi|Thiệu Trị}}); (6 มิถุนายน ค.ศ. 1807 &ndash; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1847) เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 3 แห่ง [[ราชวงศ์เหงียน]] ทรงมีพระนามเดิมว่า '''เจ้าชาย เหงียน ฟุก เมียน ตง''' ({{lang|vi|Nguyễn Phúc Miên Tông}}) ทรงเป็นพระราชโอรสองค์โตของ[[สมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง]] ทรงครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1841 จนเสด็จสวรรคตในวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1847<ref>Erica J. Peters - Appetites and Aspirations in Vietnam: 2011 -Page 32 "Tự Đức (1847–1883) Minh Mạng's eldest son, Thiệu Trị, ruled from his father's death in 1841 until his own demise in 1847. Thiệu Trị passed over his eldest son to leave the throne to his second son, who ruled from 1847 to 1883"</ref>
 
==พระประวัติ==
สมเด็จพระจักรพรรดิเถี่ยว จิ ทรงเหมือนกับพระราชชนกของพระองค์ คือ สมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง (พระราชชนกของพระองค์) และทรงตั้งมั่นอยู่ยึดมั่นในหลักการปกครองอย่างเด่นชัดนโยบายโดดเดี่ยวตัวเองและตั้งมั่นอยู่กับหลักการของ[[ลัทธิขงจื๊อ]] ซึ่งแม้พระองค์เองนั้นก็จะทรงได้รับการศึกษาสูงจากอบรมในลัทธิขงจื้อขงจื๊อมาอย่างสูง แต่พระองค์เองก็อยากมีพระประสงค์ที่จะรู้เรื่องของชาวตะวันตกอยู่บ้าง แต่ก็เหมือนเช่นเดียวกับพระราชชนก คือ จะระแวงผู้ไม่ไว้วางพระทัยชาวต่างชาติที่ไม่ใช่ชาวจีนและเป็นชาวต่างประเทศอยู่ดี ในเวลาเดียวกัน ทั้ง[[ฝรั่งเศส]]และ[[สหราชอาณาจักร]]ต่างพยายามแข่งกันสร้างล่าอาณานิคมและสร้างความสัมพันธ์ต่อที่แข็งแกร่งกับอินโดจีน และก็เช่นเดียวกับยุคสมัยของพระราชชนก ที่ต้องจับกุมบาทหลวงพฤติการณ์ดังกล่าวได้ส่งผลให้[[มิชชันนารี]]ชาวสเปนและฝรั่งเศสที่ไม่สนใจการห้ามเผยแพร่ศาสนากลับเข้ามาในเวียดนามอีก เมื่อพระองค์ทรงสั่งจับกุมคุมขัง[[มิชชันนารี]]เหล่านั้น ฝรั่งเศสจึงส่งผลให้ฝรั่งเศสทำการตอบโต้ทันที ในปี ค.ศ. 1843 รัฐบาลฝรั่งเศสส่งทหารให้เดินทางเดินทัพสู่อินโดจีนและมี พร้อมคำสั่งในการให้ป้องกันและปกป้องผลประโยชน์ของฝรั่งเศส และขอให้ปลดปล่อยปล่อยมิชชันนารี และถ้าเป็นไปได้ก็โดยไม่ควรมีให้เกิดการกระทบกระทั้งกระทั่งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศถ้าเป็นไปได้<ref>Jacob Ramsay Mandarins and Martyrs: The Church and the Nguyen Dynasty 2008 "The start of Thiệu Trị's reign saw, for example, an immediate revival of Buddhism at court. A devout Buddhist, Thiệu Trị ordered elaborate mourning rites for his father's funeral."</ref><ref>Nghia M. Vo Saigon: A History -2011 Page 59 "In March 1843, the Heroine arrived in Đà Nẳng harbor, asking for the release of five imprisoned missionaries. King Thiệu Trị complied."</ref>
 
[[File:Gold lang Thieu Tri CdM.jpg|thumb|left|100px|เหรียญที่ใช้ในรัชสมัยของพระองค์]]
ความมุ่งมั่นของพระองค์ในการสมเด็จพระจักรพรรดิเถี่ยว จิ ที่จะกำจัดมิชชันนารี[[โรมันคาทอลิก]]ออกไปจากอาณาจักรไม่สามารถประณีตประนอมต่อลงเอยด้วยความสัมพันธ์ประนีประนอมกับฝรั่งเศสได้ ปี ค.ศ. 1845 เกือบเกิดการปะทะกันระหว่างเวียดนามกับเรือรบอเมริกายูเอสเอสคอนส์ติตู คอนสติทูชัน (USS Constitution) ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้บังคับให้พระองค์ทรงปล่อยมิชชันนารี ดอมีนิก เลอแฟบฟวร์ (Dominique Lefèbvre) ซึ่งผู้ได้ลักลอบเข้ามาเวียดนามหลายครั้ง กองทัพเรือฝรั่งเศสเดินทางถึง[[ดานัง|ตูราน]]ในวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1847 และได้ถามถึงเรียกร้องให้มีการค้ำประกันรับรองความปลอดภัยของชาวพลเมืองฝรั่งเศส และขอให้พระองค์ทรงหยุดการประหารและจับกุมไล่ล่าเหล่ามิชชันนารี
 
ราชสำนักฉีกบรรดาองคมนตรีได้ถ่วงเวลาส่งพระราชสาส์นตอบกลับของพระจักรพรรดิพร้อมทั้งทำให้และการต่อสู้ได้ปะทุขึ้น พระองค์ทรงมีรับสั่งให้มีการเสริมกำลังป้องกันในชายฝั่ง แต่ฝรั่งเศสกลับทำให้เอาชนะเวียดนามพ่ายแพ้ลงอย่างง่ายดายเนื่องจากยุทโธปกรณ์ที่ด้อยกว่าของเวียดนาม ป้อมที่ชายฝั่งทั้งหมดถูกทำลายและเรือสำเภา 3 ลำถูกทำให้จมก่อนที่เรือของฝรั่งเศสจะแล่นออกไป พระองค์รับสั่งให้ประหารสายลับทรงประกาศว่ามิชชันนารีที่ทั้งหมดเป็นสายลับของศัตรูและขอมีรับสั่งให้ประหารชีวิตผู้นับถือศาสนาคริสต์เป็นจุดๆไปทั้งหมดในทันที แต่เสนาอำมาตย์ก็ไม่ได้ประกาศใช้ทำตามพระราชโองการ และพระองค์ก็สวรรคตในเวลาไม่นาน ไม่มีมิชชันนารีคนใดถูกประหารในรัชสมัยของพระองค์<ref>Charles Keith - Catholic Vietnam: A Church from Empire to Nation -2012 Page 46 "The French raids at Đà nẵng in 1847 ended Thiệu Trị's more relaxed policies toward Catholics, and his successor the Tự Đức emperor, who came to power shortly thereafter, issued in the late 1840s and early 1850s a new wave of edicts ..."</ref>
 
== อ้างอิง ==