ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเอสเปรันโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Warut92 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Warut92 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox language|name=ภาษาเอสเปรันโต|nativename=''Esperanto''|pronunciation={{IPA|[espeˈranto]}}|image=Flag of Esperanto.svg{{!}}border|imageheader=ธง|imagesize=|imagecaption=ธงภาษาเอสเปรันโต|creator=[[แอล. แอล. ซาเซนฮอฟ]]|created=1887|setting=[[International auxiliary language]]|speakers=[[{{!}}ผู้ที่พูดตั้งแต่เกิด]]: ประมาณ 1,000 ครอบครัว โดยมีเด็กประมาณ 2,000 คน|date=พ.ศ.2430|ref=|speakers2=[[ใช้เป็นภาษาที่สอง|L2]] ประมาณ 2 ล้านคน|fam2=[[International auxiliary language]]|posteriori=รากศัพท์มาจาก [[กลุ่มภาษาโรมานซ์]] กับ [[กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก]], ระบบไวยากรณ์มาจาก [[กลุ่มภาษาสลาวิก]]|ancestor=[[Proto-Esperanto]]|dialects=[[อิดอ]] และ [[Esperantido]] อื่น ๆ|agency={{lang|eo|[[Akademio de Esperanto]]}}|script=[[อักษรละติน]] ([[อักษรภาษาเอสเปรันโต]])<br/>[[อักษรเบรลล์ภาษาเอสเปรันโต]]|sign=[[Signuno]]|iso1=eo|iso2=epo|iso3=epo|lingua=51-AAB-da|linglist=epo|glotto=espe1235|glottorefname=ภาษาเอสเปรันโต|notice=IPA}}'''ภาษาเอสเปรันโต''' (Esperanto) เป็น[[ภาษาประดิษฐ์]]ในกลุ่มภาษาช่วยในการสื่อสารระดับสากลที่ใช้กันมากที่สุดในโลก<ref>Byram, Michael (2001). Routledge Encyclopedia of Language Teaching and Learning. Routledge. pp. 464. ISBN 0-415-33286-9.</ref> คิดค้นโดย [[แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ]] นามปากกาของ(L.L. Zamenhof) จักษุแพทย์ชาวโปแลนด์ (ในช่วงที่รัสเซียปกครองโปแลนด์ โดยมีพ่อแม่เป็นชาวยิว) เมื่อวันที่ [[26 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2430|พ.ศ.2430]] โดยต้องการให้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาที่เรียนง่าย และเป็นภาษาที่สองสำหรับการสื่อสารระดับนานาประเทศ ชื่อ '''เอสเปรันโตเปรันโต''' มาจากชื่อแฝงเรียกนามปากกา ดร. เอสเปรันโต ในช่วงที่เขียน(D-ro Esprtanto) จากหนังสือเรื่องเล่มแรกที่นำเสนอภาษานานาชาติเอสเปรันโต (Unua Libro)
 
ประมาณการกันว่ามีผู้พูดภาษาเอสเปรันโตมากกว่า 2,000,000 คน และที่ไม่เหมือนกับภาษาประดิษฐ์อื่นคือมีผู้ทีพูดภาษานี้มาตั้งแต่เกิดประมาณ 2,000 คน [[สมาคมเอสเปรันโตสากล]] (Universala Esperanto-Asocio) มีสมาชิกอยู่ในมากกว่า 120 ประเทศ
 
[[การประชุมใหญ่เอสเปรันโตสากล]] (Universala Kogreso de ESperanto) เป็นการประชุมของผู้พูด[[ภาษาเอสเปรันโต]]ในระดับนานาชาติอันหนึ่งที่มีประวัติยาวนาน โดยจัดครั้งแรกในปี [[พ.ศ. 2448|พ.ศ.2448]] (ค.ศ.1905) ที่เมือง[[บูลอน ซู แมร์]] ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] 
 
วันที่ [[15 ธันวาคม]] ของทุกปี เป็นวันฉลองของภาษาเอสเปรันโต ซึ่งเป็นวันคล้ายวันเกิดของซาเมนโฮฟ ซึ่งในวันนี้ผู้ใช้ภาษาเอสเปรันโตจะรวมตัวกันในฤดูหนาว และเลี้ยงฉลองกัน โดยบางคนจะซื้อหนังสือภาษาเอสเปรันโตเล่มใหม่ในวันนี้
เส้น 6 ⟶ 10:
 
== ประวัติ ==
เอสเปรันโตคิดค้นขึ้นช่วงปลาย [[คริสต์ทศวรรษ 1870]] และต้น [[คริสต์ทศวรรษ 1880]] โดย [[แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ|ซาเมนฮอฟ]] ในช่วงเวลาพัฒนา 10 ปีนั้น ซาเมนฮอฟได้ใช้เวลาในการแปลวรรณกรรมต่างๆ มาเป็นภาษาเอสเปรันโต รวมทั้งการเขียนและพัฒนาหลักไวยกรณ์ต่างๆของภาษา โดยหนังสือไวยกรณ์เล่มแรกในภาษาเอสเปรันโต ชื่อ [[อูนูอาลิโบร]] (Unua Libro ความหมายในภาษาเอสเปรันโตว่า ''หนังสือเล่มแรก'') ตีพิมพ์ที่ [[วอร์ซอว์]] ในเดือน [[กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2430]] ซึ่งหลังจากนั้นจำนวนผู้ใช้ภาษาเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วภายใน 20 ปีต่อมา โดยเริ่มต้นจาก[[จักรวรรดิรัสเซีย]] และ [[ยุโรปตะวันออก]] และได้เข้าสู่ [[ยุโรปตะวันตก]] [[อเมริกา]] [[ประเทศจีน]] และ [[ประเทศญี่ปุ่น]] ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2448]] [[การประชุมเอสเปรันโตโลก]] ได้จัดตั้งขึ้น โดยจัดครั้งแรกที่เมือง บูโลญจน์ ซูร์ แมร์ (Boulogne-sur-Mer) ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] และหลังจากนั้นมีการจัดประชุมกันทุกปี (ยกเว้นช่วงสงครามโลก) โดยเปลี่ยนสถานที่จัดไปทั่วโลก
 
ในปัจจุบันภาษาเอสเปรันโตไม่ได้เป็น[[ภาษาทางการ]]ของประเทศใด แต่ได้มีการเรียนการสอนในหลายประเทศ อย่างไรก็ตามในต้น[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] บริเวณ[[โมเรสเนต|ฉนวนโมเรสเนต]] (Neutral Moresnet, 2359-2462) ได้ถือว่าเป็นรัฐแรกที่ใช้ภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาทางการ
เส้น 16 ⟶ 20:
ในปี [[พ.ศ. 2467]] ในสหรัฐอเมริกา เริ่มมีการใช้ภาษาเอสเปรันโตสำหรับ[[วิทยุสื่อสาร]] โดยคาดหวังว่าจะใช้เป็นภาษาหลักในการสื่อสาร แต่สุดท้ายไม่ได้รับการนิยมและได้ยกเลิกไป
 
== การศึกษา ภาษาเอสเปรันโต ==
[[ไฟล์:Unua Libro.jpg|thumb|239x239px|หนังสือ Unua Libro ฉบับภาษารัสเซีย, 2430]]
ในปัจจุบันมีอยู่บางโรงเรียนที่มีการสอนภาษาเอสเปรันโต มีมากใน [[ประเทศจีน|จีน]] [[ประเทศฮังการี|ฮังการี]] [[ประเทศบัลแกเรีย|บัลแกเรีย]] และ [[ประเทศออสเตรเลีย|ออสเตรเลีย]] นอกจากนี้คนส่วนมากเรียนรู้ภาษา โดยการเรียนรู้ด้วยตัวเอง และมีการสอนโดยอาสาสมัครต่างๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต เช่นเว็บไซต์ [[lernu!]]
 
ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555, ได้มีการตีพิมพ์และการจำหน่ายตำราเรียนภาษาเอสเปรันโตที่ชื่อว่า "เอสเปรันโตโดยวิธีตรง" (Esperanto per rekta metodo) &nbsp;&nbsp; ต้นฉบับของเรื่องนี้ถูกแปลจากภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาอื่น ๆ มากมาย ซึ่งภาษาไทยเป็นภาษาที่ 31ผู้แต่งชื่อ สตาโน มาเช็ค (Stano Marček) หนังสือเรื่องนี้เป็นตำราเรียนภาษาเอสเปรันโตฉบับภาษาไทยเล่มแรก
 
นักวิจัยหลายท่านได้ศึกษาว่าการเรียนรู้ภาษาเอสเปรันโต ช่วยให้ผู้ที่ใช้ภาษาใน[[ภาษากลุ่มอินโดยูโรเปียน]] (เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน) เรียนภาษาอื่นๆ ได้ง่ายยิ่งขึ้น อาจเนื่องมาจาก รูปแบบของภาษา ไวยากรณ์ และคำศัพท์ต่างๆ <ref>Williams, N. (1965) 'A language teaching experiment', Canadian Modern Language Review 22.1: 26-28</ref> การวิจัยพบว่า เปรียบเทียบกลุ่มนักเรียน 2 กลุ่ม โดย กลุ่มแรก เรียนภาษาเอสเปรันโต 1 ปี และภาษาฝรั่งเศส 3 ปี กับกลุ่มที่สอง เรียนภาษาฝรั่งเศส 4 ปี ผลออกมาว่า กลุ่มแรกสามารถใช้ภาษาฝรั่งเศสได้ดีกว่ากลุ่มที่สอง ที่เรียนภาษาฝรั่งเศสมากกว่าหนึ่งปี
 
== ภาษาเอสเปรันโตในประเทศไทย ==
พ.ศ.'''2479'''  Kiu Gi (ผู้พูดภาษาเอสเปรันโตชาวจีน) ได้เดินทางมาประเทศไทย ได้กล่าวว่าขณะนั้นที่ประเทศไทยได้มีจัดตั้งสมาคมเอสเปรันโตแห่งประเทศไทยขึ้น และได้ตีพิมพ์นิตยสารภาษาเอสเปรันโตในชื่อ "Orienta Raporto"
 
พ.ศ.'''2480''' มีการตีพิมพ์หนังสือนำเสนอภาษาเอสเปรันโตในภาษาไทย ชื่อว่า '''ESPERANTO? ภาษาโลกคืออะไร?''' โดย Lu Bi โรงพิมพ์กิมหลีหงวน
 
พ.ศ.'''2523''' เปรม กุเลเมฆิน (ถอดจาก Prem Kulemekin) ได้ตั้งสถาบันภาษาเอสเปรันโตแห่งประเทศไทย (Tajlanda Esperanto-Instituto) โดยจัดการเรียนภาษาเอสเปรันโตทางไปรษณีย์<ref><nowiki>http://www.eventoj.hu/arkivo/eve-221.htm</nowiki></ref>
 
ใน'''พ.ศ.2555''' เดือนกุมภาพันธ์ 2555, ได้มีการตีพิมพ์และการจำหน่ายตำราเรียนภาษาเอสเปรันโตที่ชื่อว่า "เอสเปรันโตโดยวิธีตรง" (Esperanto per rekta metodo) &nbsp;&nbsp; ต้นฉบับของเรื่องนี้ถูกแปลจากภาษาเอสเปรันโตเป็นภาษาอื่น ๆ มากมาย ซึ่งภาษาไทยเป็นภาษาที่ 31 ผู้แต่งชื่อ สตาโน มาเช็ค (Stano Marček) หนังสือเรื่องนี้เป็นตำราเรียนภาษาเอสเปรันโตฉบับภาษาไทยเล่มแรก
 
== ตัวอักษร ==
เส้น 38 ⟶ 49:
 
== ไวยากรณ์เบื้องต้น<ref>[http://donh.best.vwh.net/Esperanto/rules.html The Sixteen Rules of Esperanto Grammar]</ref> ==
ไวยากรณ์เบื้องต้นของภาษาเอสเปรันโต ประกอบด้วย '''รากศัพท์รากคำ''' ที่มีความหมายในตัวของมันเอง แล้วนำอักษรบางตัวไปต่อท้ายเพื่อเปลี่ยนหน้าที่ของคำในประโยค ดังที่จะกล่าวต่อไปนี้
 
=== คำนำหน้าคำนาม ===