ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศนาอูรู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 6385480 สร้างโดย 202.28.64.247 (พูดคุย)
บรรทัด 72:
 
[[ไฟล์:Nauru surrender WW2.jpg|thumb|การยอมแพ้ของจักรวรรดิญี่ปุ่นบนเรือรบเดียมันตินา]]
[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]ได้ส่งกองกำลัง[[การยึดครองนาอูรูของญี่ปุ่น|เข้ายึดครองนาอูรู]] ในวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1942<ref name=bogart/> หลังจากนั้นได้เกณฑ์แรงงานชาวญี่ปุ่น ชาวเกาหลี ชาวไทย ชาวอังกฤษ ชาวอเมริกันชาวนาอูรูและชาวกิลเบิร์ตให้สร้างสนามบิน โดยในระยะเวลาต่อมา กองทัพอากาศของสหรัฐอเมริกาได้ทิ้งระเบิดสนามบินนี้ครั้งแรกในวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1943 เพื่อตัดการสนับสนุนเสบียงอาหารที่จะส่งไปยังนาอูรู การที่เสบียงอาหารมีน้อยลงเป็นผลให้กองทัพญี่ปุ่นต้องนำชาวนาอูรู 1,200 คนออกจากเกาะโดยส่งไปอยู่ที่[[เกาะชุก]]ในหมู่เกาะแคโรไลน์<ref name=PacMag>{{cite journal|author=Haden, JD|year=2000|url=http://166.122.164.43/archive/2000/April/04-03-19.htm|title=Nauru: a middle ground in World War&nbsp;II|journal=Pacific Magazine|accessdate=16 June 2012}}</ref> การที่นาอูรูโดนกองกำลังอเมริกาปิดล้อมมาอย่างยาวนาน นำไปสู่การยอมจำนนของผู้นำกองกำลังญี่ปุ่นบนเกาะนาอูรูคือ[[ฮิซะฮะชิ โซะเอะดะ]]ในวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 1945 ต่อกองทัพออสเตรเลีย<ref>{{cite web|first1=Akira |last1= Takizawa |first2=Allan |last2=Alsleben |url= http://www.dutcheastindies.webs.com/japan_garrison.html |title=Japanese garrisons on the by-passed Pacific Islands 1944–1945 |date=1999–2000 |work=Forgotten Campaign: The Dutch East Indies Campaign 1941–1942}}</ref> การยอมจำนนของญี่ปุ่นในครั้งนี้ได้รับการยอมรับโดยพลจัตวาสตีเวนสัน ซึ่งเป็นผู้แทนของพลโทเวอร์นอน สตูร์ดี ผู้บัญชาการกองทัพออสเตรเลียที่ 1 บนเรือรบเดียมันตินา<ref>''The Times'', 14&nbsp;September 1945</ref><ref>{{cite news|url=http://trove.nla.gov.au/ndp/del/article/971354|title=Nauru Occupied by Australians; Jap Garrison and Natives Starving|newspaper=The Argus|date=15 September 1945|accessdate=30 December 2010}}</ref> หลังจากการบอมแพ้ของกองกำลังญี่ปุ่น ได้มีการส่งชาวนาอูรู 737 คนที่รอดชีวิตจากเกาะชุกกลับไปยังนาอูรู โดยเรือของคณะกรรมาธิการฟอสเฟตของอังกฤษที่ชื่อว่า ''Trienza'' ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1946<ref>{{cite book|author=Garrett, J|year=1996|title=Island Exiles|publisher=ABC|isbn=0-7333-0485-0|pages=176–181}}</ref> ในปี ค.ศ. 1947 สหประชาชาติได้มอบหมายให้ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักรเป็นผู้ดูแลเกาะนาอูรูในฐานะดินแดนในภาวะทรัสตี<ref name=highet/>
 
นาอูรูได้สิทธิ์ในการปกครองตนเองในเดือนมกราคม ค.ศ. 1966 และเมื่อการประชุมร่างรัฐธรรมนูญได้ผ่านไป 2 ปีหลังจากนั้น นาอูรูจึงได้ประกาศเอกราชในปี ค.ศ. 1968 โดยมีประธานาธิบดี[[แฮมเมอร์ ดีโรเบิร์ต]]เป็นประธานาธิบดีคนแรก<ref name=davidson>{{cite journal|last=Davidson|first=JW|title=The republic of Nauru|journal=The Journal of Pacific History|date=January 1968|volume=3|issue=1|pages=145–150|doi=10.1080/00223346808572131}}</ref> ในปี ค.ศ. 1967 ประชาชนชาวนาอูรูได้ร่วมกันซื้อทรัพย์สินของคณะกรรมาธิการฟอสเฟตของอังกฤษ ซึ่งนาอูรูได้สิทธิ์ในการบริหารจัดการกิจการเหมืองแร่ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1970 ภายใต้การบริหารของ[[บริษัทนาอูรูฟอสเฟต]]<ref name=autogenerated1 /> รายได้ของนาอูรูที่ได้จากการทำเหมืองแร่ส่งผลให้ประชาชนชาวนาอูรูมีมาตรฐานการครองชีพสูงที่สุดในกลุ่มประเทศแถบแปซิฟิก<ref>{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/programmes/from_our_own_correspondent/7296832.stm|title=Nauru seeks to regain lost fortunes|author=Squires, Nick| date=15 March 2008|publisher=BBC News Online|accessdate=16 March 2008}}</ref> ในปี ค.ศ. 1989 นาอูรูได้ฟ้องออสเตรเลียต่อ[[ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ]]จากความล้มเหลวของออสเตรเลียในการแก้ไขความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการทำเหมืองแร่ฟอสเฟตเมื่อครั้งที่ออสเตรเลียมีอำนาจบริหารกิจการต่าง ๆ ในนาอูรู<ref name=highet>{{cite journal|author=Highet, K; Kahale, H|year=1993|url=http://www.icj-cij.org/docket/index.php?p1=3&p2=3&code=naus&case=80&k=e2|title=Certain Phosphate Lands in Nauru|journal=American Journal of International Law|volume= 87|pages=282–288}}</ref><ref>{{cite book|series=ICJ Pleadings, Oral Arguments, Documents|title=Case Concerning Certain Phosphate Lands in Nauru (Nauru v. Australia) Application: Memorial of Nauru|date=January 2004|isbn=978-92-1-070936-1|publisher=United Nations, International Court of Justice}}</ref>