ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยาโรสลาฟ เฮย์รอฟสกี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 27:
}}
 
'''ยาโรสลาฟ เฮย์รอฟสกี''' ({{lang-cz|Jaroslav Heyrovský}}; {{IPA-cs|ˈjaroslaf ˈɦɛjrofskiː|-|Cs-Jaroslav Heyrovsky.ogg}}; [[20 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1890]] – [[27 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1967]]) เป็น[[นักเคมี]]และ[[นักประดิษฐ์]][[ชาวเช็ก]] เกิดที่กรุง[[ปราก]] [[ราชอาณาจักรโบฮีเมีย]] (ปัจจุบันอยู่ใน[[ประเทศสาธารณรัฐเช็ก]]) เป็นบุตรของเลโอโปลด์และคลารา (นามสกุลเดิม ฮาเนิล ฟอน เคิร์ชทอย)<ref>http://www.steinbauer.biz/familytree/Rodokmeny.htm#_Toc219631234</ref> เฮย์รอฟสกี เฮย์รอฟสกีเรียนวิชาเคมี, ฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ที่[[มหาวิทยาลัยชาลส์ ปราก|มหาวิทยาลัยชาลส์]] ระหว่าง ค.ศ. 1910–1914 เฮย์รอฟสกีเดินทางไปเรียนต่อที่[[มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน]] ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] เฮย์รอฟสกีทำงานเป็นนักเคมีและนักรังสีวิทยาในโรงพยาบาลทหาร หลังสงคราม เฮย์รอฟสกีทำงานเป็นผู้ช่วยของศาสตราจารย์บี. เบราเนอร์ที่สถาบันเคมีวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยชาลส์ ต่อมาในปี ค.ศ. 1926 เฮย์รอฟสกีดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านเคมีฟิสิกส์คนแรกของมหาวิทยาลัยชาลส์<ref>[http://www.nobelprize.org/nobel_prizes/chemistry/laureates/1959/heyrovsky-bio.html Jaroslav Heyrovsky - Biographical - Nobelprize.org]</ref>
 
ในปี ค.ศ. 1922 เฮย์รอฟสกีค้นพบกระบวนการ[[โพลาโรกราฟี]] ซึ่งเป็นหนึ่งในวิธีวัดศักย์ไฟฟ้าทาง[[ไฟฟ้าเคมี]]<ref>[http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electrochemistry/web/Eanal/anal_votammetry3.htm Electrochemistry - Institute for Innovative Learning - Mahidol University]</ref> การค้นพบและการพัฒนากระบวนการนี้ทำให้เฮย์รอฟสกีได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาเคมี]] ในปี ค.ศ. 1959<ref>[http://www.nobelprize.org/nobel_prizes/chemistry/laureates/1959/ The Nobel Prize in Chemistry 1959 - Nobelprize.org]</ref>