ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ขุนนางกรุงศรีอยุธยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Rongple36 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 15:
ราชทินนามมักเป็น[[ภาษามคธ]]หรือ[[สันสกฤต]]ล้วนๆ หรือผสมกับ[[ภาษาไทย]]สั้นๆ เป็นการบ่งบอกหน้าที่ของขุนนางนั้นๆ เพราะหน้าที่ตำแหน่งต่างๆ จะมียศและราชทินนามกำกับไว้ เช่น เจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์ เป็นยศและราชทินนามประจำตำแหน่งสมุหนายก เป็นต้น ขุนนางในตำแหน่งต่างๆ จึงย่อมมีราชทินนามเฉพาะไว้เพื่อให้ทราบหน้าที่
 
ตำแหน่ง เป็นสิ่งที่กำหนดสิ่งที่กำหนดระดับอำนาจและหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยปกติมักจะสอดคล้องกับบรรดาศักดิ์และราชทินนาม ตำแหน่งสำคัญตามกรมกองต่างๆ ในระบบบริหารส่วนกลางคือ [[อัครมหาเสนาบดี]] ได้แก่ [[สมุหานายกสมุหนายก]]และ[[สมุหพระกลาโหม]] เสนาบดีจตุดมภ์จตุสดมภ์ ตำแหน่งทั้ง 2 ประเภทนี้มียศเป็น [[พระยา]] และต่อมาภายหลังเป็น [[เจ้าพระยา]] ทั้งสิ้น
 
ตำแหน่งขุนนางระดับรองลงมาได้แก่ ตำแหน่ง[[จางวาง]] ซึ่งใช้สำหรับกรมที่ใหญ่กว่ากรมทั่วไป แต่เล็กกว่ากรมของเสนาบดี รองจากจางวางคือตำแหน่ง[[เจ้ากรม]] รองจากเจ้ากรมคือตำแหน่ง[[ราชปลัดทูลฉลอง]]สำหรับกรมใหญ่ และปลัดกรมสำหรับกรมเล็กหรือกรมธรรมดา จากนั้นก็เป็น ตำแหน่ง[[สมุห์บัญชี]] ทำหน้าที่ควบคุมบัญชีกำลังพลในกรมนั้น ๆ