ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอล. แอล. ซาเมนฮอฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Warut92 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Warut92 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:1908-kl-t-zamenhof.jpg|thumb|แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ, 2451]]
 
'''แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ''', (อังกฤษ: Ludvic Lazarus (Ludwik Lejzer, Ludwik Łazarz) Zamenhof - [[15 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2402]] – [[14 เมษายน]] [[พ.ศ. 2460]]) [[จักษุแพทย์]] [[นักภาษาศาสตร์]] และเป็นผู้ประดิษฐ์ภาษา[[เอสเปรันโต]] ซึ่งเป็นภาษาพูดในวงกว้างและเป็นภาษาประดิษฐ์ที่ประสบความสำเร็จมากภาษาหนึ่งในโลก ตามบึนทึกของนักเขียนชีวประวัติ เอ. ซาคลิวสกี และ อี.วีเซนเฟลด์ กล่าวว่าภาษาแม่ของซาเมนฮอฟคือ[[ภาษาโปแลนด์]]ที่ได้จากจากถิ่นที่ซาเมนฮอฟเติบโต ส่วนภาษาของบิดาและมารดาคือ[[ภาษารัสเซีย]]และ[[ยิดดิช]] แต่บิดาเป็นครูสอน[[ภาษาเยอรมัน]] ซาเมนฮอฟจึงพูดเยอรมันได้อย่างคล่องแคล่วด้วย ต่อมาซาเมนฮอฟได้เรียน[[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษาละติน]] [[ภาษากรีก]] [[ภาษาฮีบรู]]และ[[ภาษาอังกฤษ]]ด้วย นอกจากภาษาเหล่านี้แล้วซาเมนฮอฟยังสนใจ[[ภาษาอิตาเลียน]] [[ภาษาสเปน]]และ[[ภาษาลิทัวเนีย]]อีกด้วย
 
== ชีวิตและงาน ==
'''แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ''' เกิดที่เมืองเบียลีสต็อก ใน[[โปแลนด์เบียวิสตอค]]ครั้งยังอยู่ในการครอบครองของรัสเซีย) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศ[[โปแลนด์]] พ่อแม่มีเชื้อสาย[[ยิว]]-ลิทัวเนีย เมืองที่ซาเมนฮอฟถือกำเนิดประกอบด้วย 3 ชนเผ่าใหญ่ๆ คือ [[ชาวโปลด์โปแลนด์]] [[ชาวเบลารุส]] และกลุ่มที่ใหญ่ที่สุดคือ กลุ่มชาวยิวที่พูด[[ภาษายิดดิช]] ทั้ง 3 กลุ่มนี้มีแต่วิวาทบาดหมางกันอยู่เสมอ ซึ่งซาเมนฮอฟคิดว่าความลำเอียงและความเกลียดชังระหว่างกันนี้ เกิดจากความไม่เข้าใจซึ่งกันเนื่องจากภาษาแตกต่างที่กันไม่สามารถสื่อกันไม่ให้เข้าใจกันได้ ขาดภาษากลางที่จะนำมาใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารกลางสำหรับกลุ่มชนที่มีพื้นหลังทาง[[สัทศาสตร์]]และเผ่าพันธุ์แตกต่างกัน
 
[[ไฟล์:Afbeelding 218.jpg|thumb|150px|ภาพปั้นของ แอล.แอล. ซาเมนฮอฟ ที่เมืองพรีเลบ [[สาธารณรัฐมาซิโดเนีย]]]]
 
ในระหว่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมต้นในนคร[[กรุงวอร์ซอว์]] ซาเมนฮอฟได้พยายามสร้างภาษานานาชาติขึ้นด้วย[[ไวยากรณ์]]ที่มากและซับซ้อน แต่เมื่อได้เรียนภาษาอังกฤษ ซาเมนฮอฟตัดสินใจว่าภาษานานาชาติจะต้องมีไวยากรณ์ที่ง่ายที่สุด
 
เมื่อถึงในปี [[พ.ศ. 2421]] ''โครงการภาษานานาชาติ'' (Lingwe uniwersala) ของซาเมนฮอฟเป็นรูปเป็นร่างใกล้เสร็จ แต่เขาก็ยังเด็กเกินไปที่จะตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานนี้ได้ จึงได้เข้าศึกษาต่อในด้าน[[การแพทย์]]ที่[[วอร์ซอว์]]และ[[มอสโคว์]] จนจบการศึกษาเมื่อ [[พ.ศ. 2428]] และได้ทำงานเป็นด้าน[[จักษุแพทย์]] ในระหว่างทำงานรักษาคนไข้ ซาเมนฮอฟก็ได้ทำโครงการภาษานานาชาติของตนต่อไปพร้อมๆพร้อม ๆ กัน
 
เมื่อ [[พ.ศ. 2422]] ซาเมนฮอฟได้เขียนไวยากรณ์ของ[[ภาษายิดดิช]]เป็นครั้งแรกและได้รับการตีพิมพ์เป็นบางส่วนในหลายปีต่อมาคือ [[พ.ศ. 2452]] ผลงานดั้งเดิมที่สมบูรณ์ใน[[ภาษารัสเซีย]]คู่กับ[[ภาษาเอสเปรานโดเปรันโต]]ของเขาที่เพิ่งได้รับการตีพิมพ์เมื่อ [[พ.ศ. 2525]] นี้เอง ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ ซาเมนฮอฟยังได้เขียนงานเกี่ยวกับไวยากรณ์ของภาษายิดดิชและได้ชี้ให้เห็นช่วงหรือส่วนที่เชื่อมต่อกับ[[ภาษาละติน]]ไว้ด้วย รวมทั้งยังได้สำรวจงาน[[กวี]]ของยิดดิชเป็นครั้งแรกอีกด้วย
 
สองปีต่อมา ซาเมนฮอฟ ได้พยายามหาทุนเพื่อตีพิมพ์หนังสือ[[อนุสาร]]ว่าด้วย[[ภาษา]]ของเขาและได้รับการอุดหนุนทุนจากบิดาของภรรยา และในปี [[พ.ศ. 2430]] นั้นเอง หนังสือชื่อ "''ภาษานานาชาติ คำนิยมและตำราเรียนฉบับสมบูรณ์''" ("Lingvo internacia. Antaŭparolo kaj plena lernolibro") ของเขาก็ได้รับการตีพิมพ์ออกมาภายใต้ชื่อนามปากกาว่า "[[หมอหวังดีหวังผู้มีความหวัง]]" ("Doktoro Esperanto" หรือ Doctor Hopeful) ซึ่งต่อมากลายเป็นที่มาของชื่อของภาษานี้ ซาเมนฮอฟมิได้หวังเพียงว่าจะให้ภาษานี้เป็นเครื่องมือการสื่อทางภาษา แต่เขายังหวังที่เผยแพร่แนวคิดในการอยู่ร่วมกันโดยสันติในระหว่างกลุ่มคนที่มีความแตกต่างกันทางภาษาและ[[วัฒนธรรม]] มีหนังสือจำนวนมากที่ซาเมนฮอฟแปลเป็นภาษาเอสเปรันโต รวมทั้ง[[คัมภีร์ไบเบิล]]ฮีบรู หรือ''คัมภีร์เล่มต้นพันธสัญญาเดิม'' (Old Testament)
 
ซาเมนฮอฟแต่งงานกับคลาราและมีบุตร 3 คน แต่ทั้ง 3 คนเสียชีวิตจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในค่ายกักกันของนาซี