ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาผี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ศาสนาผี''' ({{lang-lo|ສາສນາຜີ}}) เป็นศัพท์จำแนกใช้กับศาสนาชาติพันธุ์ที่ประชากรลาว 30.7% นับถือ มีประเพณีเดียวกับที่[[คนอีสาน]]และ[[คนไทย]]ในประเทศไทยปฏิบัติ ศาสนาเหล่านี้เป็น[[สรรพเทวนิยม]] และแบบลักษณ์พหุเทวนิยม-วิญญาณนิยม ซึ่งรวมบทบาท[[เชมัน]] หมวดหมู่นี้รวมประเพณีพื้นบ้านลาวและไท-กะไดอื่น ขมุและมอญ-เขมรอื่น ตลอดจนศาสนาม้ง-เมี่ยน ทิเบต-พม่า และกลุ่มชาติพันธุ์อื่นของลาว
 
ผี (ຜີ) เป็น[[เทพารักษ์]]สิ่งปลูกสร้างหรือพื้นที่ของสถานที่ สิ่งหรือปรากฏการณ์ธรรมชาติ ผียังเป็นวิญญาณบรรพบุรุษและวิญญาณอื่นที่ปกปักษ์ผู้คน และยังมีวิญญาณมุ่งร้าย เทพารักษ์สถานที่ เช่น ผีวัด (ຜີວັດ) และหลักเมือง (ຫລັກເມືອງ) มีการเฉลิมฉลองด้วยการชุมนุมของชุมชนและการถวายอาหาร การแปลงเทพเจ้าฮินดูรวมอยู่ในรายการเทพเจ้าด้วย เทพเจ้ามิใช่ฮินดูพื้นเมืองเรียก ผีแถน (ຜີແຖນ) ผีแถน พบทั่วไป บางตนเชื่อมโยงกับธาตุสากล คือ สวรรค์ ดิน ไฟและน้ำ
หมวดหมู่นี้รวมประเพณีพื้นบ้านลาวและไท-กะไดอื่น ขมุและมอญ-เขมรอื่น ตลอดจนศาสนาม้ง-เมี่ยน ทิเบต-พม่า และกลุ่มชาติพันธุ์อื่นของลาว
 
ชาวลาวยังเชื่อวิญญาณสามสิบสองตนที่เรียก ขวัญ (ຂວັນ) ซึ่งปกปักษ์ร่างกาย และมีการประกอบพิธีกรรมบายศรี (ບາສີ) ระหว่างโอกาสสำคัญหรือเวลาที่มีความวิตกกังวลเพื่อผูกมัดวิญญาณกับร่างกาย และเชื่อว่าหากวิญญาณเหล่านี้ไม่อยู่กับตัวจะนำพาความเจ็บป่วยหรืออันตรายมา พิธีกรรมบายศรีเรียกขวัญทั้งสามสิบสองกลับมาเพื่อให้สุขภาพ ความมั่งคั่งและความเป็นอยู่ดีของผู้เข้ารับพิธี มีการผูกสายฝ้ายรอบเอวของผู้เข้าร่วมพิธีเพื่อรักษาวิญญาณให้อยู่กับที่ มักมีการดำเนินพิธีกรรมเพื่อต้อนรับแขก ก่อนและหลังการเดินทางยาว และเป็นพิธีกรรมรักษาหรือหลังฟื้นตัวจากความเจ็บป่วย นอกจากนี้ยังเป็นพิธีกรรมศูนย์กลางในการแต่งงาน[[ลาวลุ่ม]] และพิธีการตั้งชื่อเด็กแรกเกิด
 
ในชีวิตประจำวัน คนส่วนมากเคารพผีที่สถิตอยู่ในศาลเจ้า และเชื่อว่าปกป้องบริเวณใกล้เคียงจากอันตราย การถวายดอกไม้ธูปเทียน และมีการขอการคุ้มครองและความช่วยเหลือจากวิญญาณระหว่างการเปลี่ยนแปลงหรือช่วงยากลำบาก เทพเจ้าธรรมชาติมีเทพเจ้าที่สถิตอยู่ในต้นไม้ ภูเขาและป่า
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาในประเทศลาว]]