ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อเมริโกย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการอ้างอิงด้วยสจห.
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| Caption = ปกแผ่นเสียงอัลบั้ม อเมริโกย
| Artist = [[คาราบาว]]
| Released = [[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2528]]
| Format =
| Recorded = ห้องบันทึกเสียงเซ็นเตอร์สเตจ
| Genre =
| Length = 46.41
| Label = แว่วหวาน , อามีโก้
| Writer =
| Producer = [[คาราบาว]]
บรรทัด 17:
| Reviews =
| Chart position =
| Last album = '''''[[เมด อิน ไทยแลนด์ (อัลบั้ม)|เมด อิน ไทยแลนด์]]'''''<br />(2527)
| This album = '''''อเมริโกย'''''<br />(2528)
| Next album = '''''[[ประชาธิปไตย (คาราบาว)|ประชาธิปไตย]]'''''<br />(2529)
บรรทัด 23:
}}
 
'''อเมริโกย''' คือ[[เป็นสตูดิโออัลบั้ม]] ลำดับชุดที่ 6 ของวง[[คาราบาว]] วางจำหน่ายวันที่ [[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2528]] โดย อามีโก้ เป็นผู้โปรโมทและจัดจำหน่ายและโปรโมต รวมทั้งมีเครื่องดื่ม[[โค้ก]]เป็นผู้สนับสนุน
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Carabaoflip.jpg|300px|thumb|ปกอัลบั้มชุดอเมริโกย เมื่อกลับด้านจะอ่านว่า 9 ก.ย.]]
หลังจากประสบความสำเร็จ จนถึงขั้นสร้างประวัติศาสตร์ให้วงการเพลงไทย ในอัลบั้ม [[เมด อิน ไทยแลนด์ (อัลบั้ม)|เมด อิน ไทยแลนด์]] ที่สามารถทำยอดขายได้ถึง 5,000,000 ตลับ/ก็อปปี้ ซึ่งเป็นสถิติที่สูง[[ที่สุดในประเทศไทย]]แล้ว คาราบาวซึ่งกลายเป็นกลุ่มศิลปินที่ร้อนแรงที่สุดแห่งยุค ก็ได้เข้าไปมีส่วนกับเหตุการณ์ [[กบฏทหารนอกราชการ]] หรือ กบฏ [[9 กันยายน]] [[พ.ศ. 2528]] โดยทางวงได้ถูกขอร้องกึ่งบังคับให้ไปเล่นคอนเสิร์ตที่[[สวนอัมพร]]ท่ามกลางการปฏิวัติของ พ.อ. [[มนูญกฤต รูปขจร]] โดยมีการท่ายทอดสดไปทั่วประเทศสลับกับการอ่านประกาศของคณะปฏิวัติ ในคอนเสิร์ตครั้งนั้น แอ๊ด - [[ยืนยง โอภากุล]] และเล็ก - [[ปรีชา ชนะภัย]] ต่างพกอาวุธปืนขึ้นไปขณะเล่นคอนเสิร์ตด้วย และมีการยิงกันระหว่างฝ่ายรัฐบาลและกลุ่มปฏิวัติ เมื่อการปฏิวัติไม่เป็นผลสำเร็จ พันเอก[[มนูญกฤต รูปขจร]]จึงได้หลบหนีออกนอกประเทศ ทำให้วงคาราบาวรู้สึกผิดหวังเป็นอย่างมาก และรู้สึกเสียใจกับการตัดสินใจครั้งนั้นของวง
 
หลังจากที่ประสบความสำเร็จ จนถึงขั้นสร้างประวัติศาสตร์ให้วงการเพลงไทย ในอัลบั้ม [[เมด อิน ไทยแลนด์ (อัลบั้ม)|เมด อิน ไทยแลนด์]] ที่สามารถทำยอดขายได้ถึง 5,000,000 ตลับ/ก็อปปี้ ซึ่งเป็นสถิติที่สูง[[ที่สุดในประเทศไทย]]แล้ว คาราบาวซึ่งกลายเป็นกลุ่มศิลปินที่ร้อนแรงที่สุดแห่งยุค ก็ได้เข้าไปมีส่วนกับเหตุการณ์ [[กบฏทหารนอกราชการ]] หรือ กบฏ [[9 กันยายน]] [[พ.ศ. 2528]] โดยทางวงได้ถูกขอร้องกึ่งบังคับให้ไปเล่นคอนเสิร์ตที่[[สวนอัมพร]]ท่ามกลางการปฏิวัติของ พ.อ. [[มนูญกฤต รูปขจร]] โดยมีการท่ายทอดสดไปทั่วประเทศสลับกับการอ่านประกาศของคณะปฏิวัติ ในคอนเสิร์ตครั้งนั้น แอ๊ด - [[ยืนยง โอภากุล]] และ เล็ก - [[ปรีชา ชนะภัย]] ต่างพกอาวุธปืนขึ้นไปขณะเล่นคอนเสิร์ตด้วย และ มีการยิงกันระหว่างฝ่ายรัฐบาลและกลุ่มปฏิวัติ เมื่อการปฏิวัติไม่เป็นผลสำเร็จ พันเอก[[มนูญกฤต รูปขจร]] จึงได้หลบหนีออกนอกประเทศ ทำให้วงคาราบาวรู้สึกผิดหวังเป็นอย่างมาก และรู้สึกเสียใจกับการตัดสินใจครั้งนั้นของวง
ต่อมาทางวงได้เริ่มผลิตผลงานเพลงชุดที่ 6 โดยใช้ชื่อชุดว่า ''อเมริโกย'' เป็นการพูดถึงการจำกัดโควตาผ้าและสิ่งทอจากประเทศไทย ของรัฐบาล[[สหรัฐอเมริกา]] โดยในภาคดนตรีมีการยกระดับเทคโนโลยีทางดนตรีขึ้นมาจากชุดที่แล้วโดยมีการใช้เสียงสังเคราะห์เพิ่มเข้ามา และมีการนำเสียงระเบิดและเสียงปืนจากคอนเสิร์ตที่สวนอัมพร มาใส่ไว้ในเพลง ''มะโหนก ([[ถึกควายทุย]] ภาค ๖)'' อีกด้วย โดยอัลบั้มชุดนี้เป็นอัลบั้มชุดแรกที่บันทึกเสียงที่ห้องบันทึกเสียงเซ็นเตอร์สเตจ ซึ่งเป็นห้องบันทึกเสียงของคาราบาวเอง
 
ต่อมาทางวงได้เริ่มผลิตผลงานเพลงชุดที่ 6 โดยใช้ชื่อชุดว่า ''อเมริโกย'' เป็นการพูดถึงการจำกัดโควตาผ้าและสิ่งทอจากประเทศไทย ของรัฐบาล[[สหรัฐอเมริกา]] โดยในภาคดนตรีมีการยกระดับเทคโนโลยีทางดนตรีขึ้นมาจากชุดที่แล้วโดยมีการใช้เสียงสังเคราะห์เพิ่มเข้ามา และ มีการนำเสียงระเบิดและเสียงปืนจากคอนเสิร์ตที่สวนอัมพร มาใส่ไว้ในเพลง ''มะโหนก ([[ถึกควายทุย]] ภาค 6)'' อีกด้วย โดยอัลบั้มชุดนี้เป็นอัลบั้มชุดแรกที่บันทึกเสียงที่ห้องบันทึกเสียงเซ็นเตอร์สเตจ ซึ่งเป็นห้องบันทึกเสียงของคาราบาวเอง
ส่วนปกอัลบั้มออกแบบเป็นลายพรางทหารซึ่งมีที่มาจากเหตุการณ์ [[กบฏทหารนอกราชการ]] เมื่อนำปกอัลบั้มมาวางกลับหัว จะอ่านได้ว่า 9 ก.ย. ซึ่งเป็นวันที่มีการปฏิวัติไม่สำเร็จ ทางวงได้พิมพ์ปกลงบนกระดาษฟอยซึ่งมีต้นทุนสูงเพื่อป้องกันการปลอมแปลง วางจำหน่ายเมื่อวันที่ [[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2528]] วันเดียวกับทางวงขึ้นเล่นคอนเสิร์ตเปิดอัลบั้มในรายการ [[โลกดนตรี]]
 
ส่วนปกอัลบั้มออกแบบเป็นลายพรางทหารซึ่งมีที่มาจากเหตุการณ์ [[กบฏทหารนอกราชการ]] เมื่อนำปกอัลบั้มมาวางกลับหัว จะอ่านได้ว่า 9 ก.ย. ซึ่งเป็นวันที่มีการปฏิวัติไม่สำเร็จ ทางวงได้พิมพ์ปกลงบนกระดาษฟอยซึ่งมีต้นทุนสูงเพื่อป้องกันการปลอมแปลง วางจำหน่ายเมื่อวันที่ [[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2528]] วันเดียวกับทางวงขึ้นเล่นคอนเสิร์ตเปิดอัลบั้มในรายการ [[โลกดนตรี]]
หลังจากอัลบั้มชุดนี้วางแผง เพลงที่ได้รับความนิยมจากวัยรุ่นอย่างมากคือเพลง ''มะโหนก ([[ถึกควายทุย]] ภาค ๖)'', ''ข่าวดี'' ซึ่งเป็นเพลงร็อกที่มีท่อนโซโล่กีตาร์ของเล็ก - [[ปรีชา ชนะภัย]] ที่ติดหูผู้ฟัง และเพลงจังหวะ 3 ช่า สนุก ๆ อย่าง ''ซาอุดร'' และ ''คนจนผู้ยิ่งใหญ่'' โดยอัลบั้มนี้นับเป็นอัลบั้มแรกที่อ๊อด - [[อนุพงษ์ ประถมปัทมะ]] ได้เข้ามาบันทึกเสียงในฐานะสมาชิกของ[[คาราบาว]]อย่างเต็มตัว หลังจากที่เคยเล่นเป็นแบ็คอัพให้คาราบาวสมัยอยู่กับวง[[เพรสซิเดนท์]] ในยุคก่อตั้งวงคาราบาว และเคยออกทัวร์คอนเสิร์ตโปรโมทอัลบั้ม [[เมด อิน ไทยแลนด์ (อัลบั้ม)|เมด อิน ไทยแลนด์]] แทนที่[[ไพรัช เพิ่มฉลาด]]มือเบสคนเก่ามาแล้ว
 
หลังจากอัลบั้มชุดนี้วางแผง เพลงที่ได้รับความนิยมจากวัยรุ่นอย่างมากคือเพลง ''มะโหนก ([[ถึกควายทุย]] ภาค 6)'', ''ข่าวดี'' ซึ่งเป็นเพลงร็อกที่มีท่อนโซโล่กีตาร์ของเล็ก - [[ปรีชา ชนะภัย]] ที่ติดหูผู้ฟัง และ เพลงจังหวะ 3 ช่า สนุก ๆ อย่าง ''ซาอุดร'' และ ''คนจนผู้ยิ่งใหญ่'' โดยอัลบั้มนี้นับเป็นอัลบั้มแรกที่ อ๊อด - [[อนุพงษ์ ประถมปัทมะ]] ได้เข้ามาบันทึกเสียงในฐานะสมาชิกของ[[คาราบาว]]อย่างเต็มตัว หลังจากที่เคยเล่นเป็นแบ็คอัพให้คาราบาวสมัยอยู่กับวง[[เพรสซิเดนท์]] ในยุคก่อตั้งวงคาราบาว และเคยออกทัวร์คอนเสิร์ตโปรโมทอัลบั้ม [[เมด อิน ไทยแลนด์ (อัลบั้ม)|เมด อิน ไทยแลนด์]] แทนที่ [[ไพรัช เพิ่มฉลาด]] มือเบสคนเก่ามาแล้ว
 
ในการออกทัวร์คอนเสิร์ตโปรโมตอัลบั้มชุดนี้สมาชิกภายในวงซึ่งมีอิทธิพลต่อวัยรุ่นสมัยนั้นอย่างมากมักจะแต่งกายด้วยเสื้อลายทหารและนุ่งกางเกงยีนส์ เมื่ออัลบั้มชุดนี้ประสบความสำเร็จทางยอดขาย จึงเกิดเป็นกระแสแฟชั่นของวัยรุ่น ที่นิยมใส่เสื้อลายทหารเลียนแบบวงคาราบาว
 
อย่างไรก็ตามอัลบั้มนี้มีบทเพลงที่ถูก [[คณะกรรมการบริหารวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์]] (กบว.) สั่งห้ามออกอากาศ คือเพลง ''หำเฮี้ยน'' ซึ่งแอ๊ด - [[ยืนยง โอภากุล]] แต่งขึ้นโดยรู้อยู่แล้วว่าจะต้องถูกแบนแน่ๆแน่ เนื่องเพราะมีท่อนที่ด่า กบว. ตรง ๆ ว่า '''กวนส้นตีน''' โดยเป็นการต่อว่า กบว. ที่แบนเพลง ''หำเทียม'' ในอัลบั้มชุดประวัติศาสตร์ ซึ่งก็คือชุดที่แล้วนั่นเอง
 
== ที่มาของเพลง อเมริโกย {{refn|group=a|จากปกซีดีอัลบั้ม รวมฮิต 25 ปี บาวเบญจเพส}} ==
==รายชื่อเพลง==
หลังจากทำอัลบั้ม เมด อืน ไทยแลนด์ ก็ได้ไปเล่นที่อเมริกาถ่ายทอดสด
 
มาเมืองไทย พี่น้องคนไทยที่หนีไปตั้งแต่ 14 ตุลา 6 ตุลา ก็ไปอยู่ที่โน่น เอารายงาน
 
ยัดใส่มือมาให้ผมอ่าน เป็นรายงานเรื่องอเมริกันเข้ามาแทรกแซงเรื่องข้าว ผมก็เลย
 
เขียนเพลงอเมริโกยขึ้นมา ...อเมริกา อเมริโกย ลิเก... ผมเป็นคนเดียวที่เข้าประเทศ
 
อเมริกายากมาก ทุกวันนี้ก็ยังยาก แอ๊ด คาราบาว นี่มีปัญหากับอเมริกา เวลาจะขอวีซ่า
 
เข้าอเมริกา ทั้ง ๆ ที่เราไม่มีอะไร เราสู้เพื่อประเทศเล็ก ๆ ของเราเท่านั้นแหละ
 
เรียกร้องสิทธิความเป็นธรรมเท่านั้น
 
{{reflist|group=a}}
 
== รายชื่อเพลง ==
# อเมริโกย
# มะโหนก ([[ถึกควายทุย]] ภาค 6)
# คนจนผู้ยิ่งใหญ่
# มาลัย
เส้น 50 ⟶ 68:
# เฒ่าทะเล
# แผ่นดิน
 
== แหล่งข้อมูล ==
* ปกซีดี , แผ่นเสียง อัลบั้ม อเมริโกย
* [https://www.youtube.com/playlist?list=PLek3y7Cfhz6ZRNW1DoYO1v01WQwXxrXXt ฟังอัลบั้ม อเมริโกย เต็มอัลบั้ม]
 
{{คาราบาว}}