ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูมิศาสตร์ไต้หวัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
RUReadyGoorNot (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
[[ญี่ปุ่น]]ใช้กำลังแย่งเกาะไต้หวันไปจากจีนในปี [[พ.ศ. 2438]] (ค.ศ. 1895) และได้ยึดครองจนกระทั่ง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ยุติลง ญี่ปุ่นแพ้สงครามและถูก[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]บังคับให้ยกเกาะไต้หวันคืนให้กับจีน และผลจาก[[สงครามกลางเมืองจีน]] เมื่อ[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]]ได้รับชัยชนะและเข้ามามีอำนาจในจีนในปี [[พ.ศ. 2492]] (ค.ศ. 1949) [[พรรคก๊กมินตั๋ง]] พรรคการเมืองชาตินิยมของจีนที่เป็นฝ่ายแพ้ ก็พาผู้คนอพยพหนีออกจากแผ่นดินใหญ่ มาตั้งหลักที่เกาะไต้หวัน เพื่อวางแผนกลับไปยึดอำนาจใน[[จีน]]ต่อไป
 
ชาวจีนมากกว่า 1 ล้าน 5 แสนคน อพยพตามมาอยู่ที่เกาะไต้หวันในยุคที่[[เหมา เจ๋อตง]]มีอำนาจเต็มที่ในจีนแผ่นดินใหญ่ ผู้นำของประเทศจีนทั้งสองประเทศ คือผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์จีนบนแผ่นดินใหญ่ กับผู้นำ'''สาธารณรัฐจีน'''บนเกาะไต้หวัน ต่างแย่ง[[แ]]ย่งกันเป็นกระบอกเสียงของประชาชนจีนในเวทีโลก แต่เสียงของนานาประเทศส่วนใหญ่เกรงอิทธิพลของ[[จีนแผ่นดินใหญ่]] จึงให้การยอมรับจีนแผ่นดินใหญ่มากกว่า
 
ในปี [[พ.ศ. 2514]] (ค.ศ. 1971) ก่อนที่นายพล '''[[เจียง ไคเช็ก]]''' (General Chiang Kaishek) ([[ภาษาจีน]]:蔣中正) จะถึงอสัญกรรมไม่กี่ปี สาธารณรัฐจีนซึ่งเป็นประเทศที่ร่วมก่อตั้งองค์การ[[สหประชาชาติ]] ได้สูญเสียสมาชิกภาพ ในฐานะประเทศตัวแทนชาวจีนให้กับ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] ในปี [[พ.ศ. 2521]] (ค.ศ. 1978) [[สหประชาชาติ]]ก็ประกาศรับรองจีนเดียวคือจีนแผ่นดินใหญ่ และตัดสัมพันธ์ทางการเมืองกับสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวัน ทั้ง[[สหรัฐอเมริกา]]ก็ได้ถอนการรับรองว่า[[ไต้หวัน]]มีฐานะฐาน[[ะ]]เป็น[[รัฐ]] สถานะทางการเมืองของไต้หวันจึงซับซ้อนยุ่งยากตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา แม้เกาะไต้หวันจะปกครองตนเองด้วยระบอบประชาธิปไตย แต่ก็ไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศเอกราช และกลายเป็นเกาะที่พรรคคอมมิวนิสต์จีนถือว่า เป็นมณฑลหนึ่งของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งแค่รอเวลาที่จะกลับมารวมกับจีนแผ่นดินใหญ่อีกครั้ง และพรรคคอมมิวนิสต์จีนยังประกาศอีกว่า หากจำเป็น ก็จะใช้กำลังทางทหารเข้าจัดการ หากไต้หวันประกาศเอกราชแยกจากสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
1. ข้อมูลทั่วไป:
บรรทัด 36:
Hsin Chu (ซินจู๋) อุตสาหกรรมไฮเทค
ขนาดพื้นที่
มีพื้นที่ประมาณ 36,000 ตารางกิโลเมตร ขนาดพื้นที่เล็กกว่าไทยประมาณ 141[[4]] เท่า ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่
 
รวม 172 เกาะ เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะไต้หวันหรือเกาะฟอร์โมซาฟอ[[ร์]]โมซา รองลงมาได้แก่เกาะเผิงหู ( Penghu ) จินเหมิน
 
( Kinmen ) และมาจู่ ( Matsu )
ประชากร
จนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2552 ไต้หวันไต้หวั[[น]]มีประชากรทั้งสิ้น 23,0630[[6]]3,027 คน
ทรัพยากรธรรมชาติ
ไต้หวันจัดได้ว่ามีทรัพยากรธรรมชาติน้อยมาก ที่สำคัญได้แก่ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ หินปูน หินอ่อนและใยหิน
บรรทัด 66:
ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาจีนกลาง (Mandarin Chinese) ภาษาจีนฮกเกี้ยนแบบไต้หวัน
 
(MinnaneseMinn[[a]]nese or Taiwanese) ส่วนภาษาที่ใช้ในธุรกิจคือ ภาษาจีนกลาง ภาษาจีนไต้หวัน และ ภาษาอังกฤษ
 
ระบอบการปกครองปกคร[[อ]]ง
มีการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดกฎ[[ห]]มายสูงสุด (Constitutional Democracy)
 
และมีประธานาธิบดี (President) เป็นประมุขของประเทศ มีนายกมี[[นาย]]กรัฐมนตรี (Premier) เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลบริหารรัฐบา[[ลบ]]ริหาร
 
ประเทศ
== อ้างอิง ==
* [http://www.mfa.go.th/web/2386.php?id=64 รายละเอียดไต้หวัน] จากเว็บไซต์กระทรวงกระทร[[วง]]ต่างประเทศ
 
== อ้างอิง ==
* [ ข้อมูลไต้หวัน] ข้อมูลกรมส่งเสริมส่งออกอ[[อก]]
<ref>[http://www.ryt9.com/s/expd/636624ข้อมูลกรมส่งเสริมส่งออก]</ref>