ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงพยาบาลกรุงเทพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
One Nirun (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มข้อมูลประวัติและผู้ถือหุ้น
บรรทัด 14:
}}
 
'''โรงพยาบาลกรุงเทพ''' ({{lang-en|Bangkok Hospital}}) ได้ขยายเครือข่ายรวม 40 สาขา โรงพยาบาลครอบคลุมพื้นที่ให้บริการแทบทุกภูมิภาคของไทย โดยเฉพาะในเมืองใหญ่และแหล่งท่องเที่ยว ด้วยทีมแพทย์เฉพาะทาง บุคลากรมืออาชีพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย ประสิทธิภาพสูง เพรียบพรัอมด้วยบริการฉุกเฉินและบริการพิเศษเหนือระดับ สิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน เพื่อสนองตอบทุกความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ บริษัทเป็นผู้ประกอบการธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ของประเทศ โดยมีโรงพยาบาลเครือข่ายในไทยและกัมพูชา ดำเนินการภายใต้ชื่อโรงพยาบาล 6 กลุ่ม คือ กลุ่มโรงพยาบาลกรุงเทพ กลุ่มโรงพยาบาลสมิติเวช โรงพยาบาลบี เอ็น เอช กลุ่มโรงพยาบาลพญาไท กลุ่มโรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล และกลุ่มโรงพยาบาลรอยัล นอกจากนี้เครือข่ายของบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) ยังรวมถึงธุรกิจที่ให้การสนับสนุนด้านการแพทย์ ได้แก่ ธุรกิจห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ธุรกิจผลิตยาและธุรกิจผลิตน้ำเกลือ เป็นต้น
 
ตั้งอยู่ 2 ซ.ศูนย์วิจัย 7 [[ถนนเพชรบุรีตัดใหม่]] [[แขวงบางกะปิ]] [[เขตห้วยขวาง]] [[กรุงเทพมหานคร]] และเป็นโรงพยาบาลที่ได้รับพระราชทาน[[ตราครุฑ]]<ref>{{cite web|url=http://www.etravelblackboard.com/showarticle.asp?id=63584&nav=46&suc=&cid=&email=&news= |title=Bangkok Airways receive the Royal Garuda Emblem |publisher=Travel Blackboard |date=April 16, 2007|accessdate=January 24, 2011}}</ref>
บรรทัด 40:
 
== ประวัติ ==
โรงพยาบาลกรุงเทพ เป็นโรงพยาบาลเอกชนของประเทศไทย ได้รับการรับรองมาตรฐานจากสถาบัน Joint Commission International (JCI) องค์กรกำกับมาตรฐานด้านการแพทย์ที่ของโลก ศูนย์กลางเครือข่ายการแพทย์ของเราที่สำนักงานใหญ่ ประกอบด้วย โรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลหัวใจกรุงเทพ โรงพยาบาลวัฒโนสถ นอกจากคณะแพทย์ของโรงพยาบาลกรุงเทพใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับผู้ป่วย เรายังมีทีมล่ามที่มีความเชี่ยวชาญภาษากว่า 26 ภาษา เพื่อให้มั่นใจว่าจะไม่มีอุปสรรคด้านการสื่อสารใดๆ เกิดขึ้นระหว่างการรักษาพยาบาล โรงพยาบาลกรุงเทพให้ความสำคัญกับสิ่งอำนวยความสะดวกในการให้บริการ นอกจากนี้เรายังพร้อมให้บริการรถลิมูซีนรับส่งผู้ป่วยถึงสนามบิน รวมทั้งบริการต่อวีซ่าที่โรงพยาบาลอีกด้วย
ในอดีตนั้นโรงพยาบาลของรัฐมีน้อยไม่เพียงพอกับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น โรงพยาบาลกรุงเทพซึ่งเป็นโรงพยาบาลเอกชนจึงถือกำเนิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 โรงพยาบาลกรุงเทพได้เป็นสถานบำบัดรักษาทางสุขภาพจิต จากความตั้งใจของคณะแพทย์และเภสัชกรที่มีอุดมการณ์ ปรารถนาที่จะให้บริการด้านการแพทย์และสุขภาพเพื่อรองรับผู้ป่วย ด้วยเตียงผู้ป่วยเพียง 100 เตียง พร้อมด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและพยาบาล เมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2558<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/020/22.PDF</ref>
<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/020/22.PDF</ref>
 
 
 
== ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ==
* ข้อมูล ณ วันที่ 18 มีนาคม 2558 <ref>http://www.set.or.th/set/factsheet.do?symbol=BDMS ผู้ถือหุ้นรายใหญ่] settrade.com</ref>
{|class="wikitable"
|-style="background:gainsboro"
| ลำดับที่ || รายชื่อผู้ถือหุ้น || จำนวนหุ้นสามัญ || สัดส่วนการถือหุ้น
|-
| 1 || นาย ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ || 2,960,930,240 || 19.11%
|-
| 2 || นาย วิชัย ทองแตง || 1,039,916,550 || 6.71%
|-
| 3 || บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) || 1,008,418,690 || 6.15%
|-
| 4 || บริษัท วิริยะประกันภัย จำกัด (มหาชน || 948,283,830 || 6.12%
|-
| 5 || น.ส. ปรมาภรณ์ ปราสาททองโอสถ || 419,705,980 || 2.71%
 
|}
 
 
== กรรมการผู้จัดการใหญ่ ==
 
 
นพ.ชาตรี ดวงเนตร กรรมการรองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ และ ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ-การแพทย์ ประธานคณะผู้บริหารศูนย์การแพทย์กรุงเทพ บมจ.กรุงเทพดุสิตเวชการ
 
ด้านการศึกษา
• 2493-2502 -โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม จ.เชียงราย
• 2503-2505 -โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จ.เชียงใหม่
-Best All Around Student Award (10 กุมภาพันธ์ 2505)
• 2506-2507 -คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ
• 2508-2512 -คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ
-ปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิต (25 มีนาคม 2513)
 
== รางวัล ==