ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประมาณ ชันซื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 1:
'''ประมาณ ชันซื่อ''' อดีตปลัด[[กระทรวงยุติธรรม]] อดีตประธานศาลฎีกา
'''ประมาณ ชันซื่อ''' เกิดเมื่อวันที่ 1 มิ.ย. 2479 เป็นบุตรอำมาตย์โท เอกคู้ ชันซื่อ เป็นน้องชายนาย[[วรรณ ชันซื่อ]] อดีต[[ประธานรัฐสภา]] สำเร็จปริญญาตรีคณะนิติศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[เนติบัณฑิตไทย]] ปริญญาโทนิติศาสตร์มหาบัณฑิต [[มหาวิทยาลัยเยล]] ประเทศ [[สหรัฐอเมริกา]] และปริญญาเอกดุษฎีกิตติมศักดิ์ [[มหาวิทยาลัยเปปเปอร์ไดน์]] ประเทศสหรัฐอเมริกา
 
== ประวัติ ==
'''ประมาณ ชันซื่อ''' เกิดเมื่อวันที่ 1 มิ.ย. 2479 เป็นบุตรอำมาตย์โท เอกคู้ ชันซื่อ เป็นน้องชายนาย[[วรรณ ชันซื่อ]] อดีต[[ประธานรัฐสภา]] สำเร็จปริญญาตรีคณะนิติศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[เนติบัณฑิตไทย]] ปริญญาโทนิติศาสตร์มหาบัณฑิต [[มหาวิทยาลัยเยล]] ประเทศ [[สหรัฐอเมริกา]] และปริญญาเอกดุษฎีกิตติมศักดิ์ [[มหาวิทยาลัยเปปเปอร์ไดน์]] ประเทศสหรัฐอเมริกา
 
สมรสกับนางอำพันศรี ชันซื่อ มีบุตร 3 คน คือ นพ.เอกเทศ พ.ต.ท.เอกพจน์และนางปรมา ชันซื่อ
ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 '''"ประมาณ ชันซื่อ"''' ได้ถึงแก่อนิจกรรมอย่างสงบ ด้วยโรคปอดติดเชื้อ ในวัย71ปี หลังเข้ารับการรักษาตัวที่ห้องไอซียู 8 ชั้น 9 โรงพยาบาล[[รามาธิบดี]] ตั้งแต่วันที่ 3 ม.ค. 50
 
'''ประวัติรับราชการตำแหน่งสำคัญ''' อาทิ อธิบดีผู้พิพากษาศาลภาค 5 ,ภาค 9 และ เป็นปลัด[[กระทรวงยุติธรรม]] สมัย[[วิกฤตตุลาการ]] ยุค[[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]] (รสช.)ครองอำนาจ ก่อนก้าวขึ้นดำรงตำแหน่ง[[ประธานศาลฎีกา]]ในปี 2535 - 2539 รวม 4 ปี เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่าย[[ตุลาการ]] ริเริ่มหลักสูตรวิทยาลัยผู้บริหารงานยุติธรรมระดับสูง หรือ บยส. และริเริ่มการเสนอต่ออายุ[[ข้าราชการ]]ตุลาการที่ เกษียณอายุราชการ 60 ปี ให้ดำรงตำแหน่ง[[ผู้พิพากษา]]อาวุโสถึงอายุ 65 ปี
 
== การรับราชการ ==
ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 '''"ประมาณ ชันซื่อ"''' ได้ถึงแก่อนิจกรรมอย่างสงบ ด้วยโรคปอดติดเชื้อ ในวัย71ปี หลังเข้ารับการรักษาตัวที่ห้องไอซียู 8 ชั้น 9 โรงพยาบาล[[รามาธิบดี]] ตั้งแต่วันที่ 3 ม.ค. 50
'''ประวัติรับราชการตำแหน่งสำคัญ''' อาทิ อธิบดีผู้พิพากษาศาลภาค 5 ,ภาค 9 และ เป็นปลัด[[กระทรวงยุติธรรม]] สมัย[[วิกฤตตุลาการ]] ยุค[[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]] (รสช.) ครองอำนาจ ก่อนก้าวขึ้นดำรงตำแหน่ง[[ประธานศาลฎีกา]]ในปี 2535 - 2539 รวม 4 ปี เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่าย[[ตุลาการ]] ริเริ่มหลักสูตรวิทยาลัยผู้บริหารงานยุติธรรมระดับสูง หรือ บยส. และริเริ่มการเสนอต่ออายุ[[ข้าราชการ]]ตุลาการที่ เกษียณอายุราชการ 60 ปี ให้ดำรงตำแหน่ง[[ผู้พิพากษา]]อาวุโสถึงอายุ 65 ปี
 
นายประมาณยังเคยตกเป็นเป้า[[ลอบสังหาร]] เมื่อครั้งดำรงตำแหน่ง[[ประธานศาลฎีกา]] เมื่อปี 2536 แต่[[ตำรวจ]][[กองปราบปราม]] นำโดย พล.ต.ต.[[ล้วน ปานรศทิพ]] ผบก.ป. (ยศในขณะนั้น) จับกุมมือปืนได้ก่อนลงมือ มีการขยายผลจับกุมผู้ต้องหาอีกหลายคน กระทั่งไปสู่จับกุมผู้จ้างวานได้ในที่สุด ซึ่งคดียังอยู่ในการพิจารณาของ[[ศาลอาญา]]กรุงเทพใต้
เส้น 13 ⟶ 17:
[[หมวดหมู่:ประธานศาลฎีกา]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
 
{{เกิดปี|2479}}{{ตายปี|2550}}