ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขเพิ่มเติม
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แก้ไขเพิ่มเติม
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 47:
ต่อมาได้มีผู้นำไปไว้ที่เมือง[[กำแพงเพชร]]และ[[เชียงราย]] เมื่อ[[พระเจ้าแสนเมืองมา]] เจ้านครเชียงใหม่ยกทัพไปตีเมืองเชียงรายได้ จึงได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์มาประดิษฐานที่เชียงใหม่พร้อมกับ[[พระแก้วมรกต]] เมื่อ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]ตีเมืองเชียงใหม่ได้เมื่อ [[พ.ศ. 2205]] ได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์มาประดิษฐานที่[[วัดพระศรีสรรเพชญ์]]กรุงศรีอยุธยาเป็นเวลานานถึง 105 ปี
 
เมื่อเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 แก่[[พม่า]]ใน [[พ.ศ. 2310]] ชาวเชียงใหม่ได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์กลับไปที่ยังนครเชียงใหม่ จนถึงปัจจุบัน ซึ่งพระพุทธสิหิงค์จึงได้สถิตประดิษฐาน ณ วิหารลายคำ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ ตราบตั้งแต่บัดนั้นมาจนถึงปัจจุบันนี้
 
พระพุทธสิหิงค์หรือพระสิงห์ ในประเทศไทยมีด้วยกัน 3 องค์ คือองค์แรกพระสิงห์1ศิลปะแบบเชียงแสนรุ่น 1 ปางมารวิชัยขัดสมาธิเพชร ประดิษฐานอยู่ที่วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่ (องค์จริง) องค์ที่สองพระสิงห์ 2 ศิลปะแบบสุโขทัย ปางสมาธิ ประดิษฐานอยู่ที่ พระที่นั่งพุทไทสวรรค์ ในพระบรมมหาราชวังกรุงเทพมหานคร(อัญเชิญมาจาก สุโขทัย) ส่วนองค์ที่สามพระสิงห์ 3 ศิลปะแบบล้านช้าง ปางสมาธิ(องค์เล็กสุด)ประดิษฐานอยู่ที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
บรรทัด 53:
พระพุทธสิหิงค์ที่ประดิษฐานในสามที่นี้ ล้วนแต่เป็นองค์จริงทั้งสิ้น และขนาดความกว้างของหน้าตัก และความสูง รวมถึงศิลปะในการสร้างพระสิงห์ทั้งสามองค์นี้ แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง ปัจจุบันจึงเป็นที่น่าภูมิใจอย่างยิ่งว่าประเทศไทย มีพระพุทธสิหิงค์ หรือพระสิงห์ ที่ศักดิ์สิทธิ์ประดิษฐานคู่ราชอาณาจักร ถึงสามองค์ด้วยกัน
 
ส่วนที่มาขอชื่อวัดพระสิงห์ ที่จังหวัดเชียงรายนั้น ก็เนื่องมาจากวัดแห่งนั้นเคยเป็นสถานที่ ที่ใช้ประดิษฐาน. พระสิงห์มาก่อน ซึ่งปัจจุบันพระสิงห์องค์นั้น(องค์จริง) ประดิษฐานอยู่ที่ จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนองค์ที่ประดิษฐานอยู่ ณ วัดพระสิงห์ ที่จังหวัดเชียงรายนั้น เป็นองค์จำลอง
 
== ลำดับเจ้าอาวาส ==