ผลต่างระหว่างรุ่นของ "5.56×45 มม. นาโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KengSiri (คุย | ส่วนร่วม)
Wut456 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:30-30.jpg|thumb|'''จากซ้ายไปขวา''' : 5.56×45 mm. NATO (SS109) , .30-30 Winchester , 7.62×51 mm. NATO ('''หมายเหตุ''' กระสุน 5.56 มม. แบบ SS109 ของบริษัท FN จะไม่แต้มสีเขียวที่หัวกระสุนเหมือนกระสุน M855 ของสหรัฐฯ)]]
 
กระสุนขนาด '''5.56×45 มม. นาโตนาโต้''' หรือ '''5.56 นาโตนาโต้''' เป็น[[กระสุน]]ปืนเล็กยาวชนวนกลางที่ปรับปรุงจากกระสุนขนาด [[:en:.223 Remington|.223 เรมิงตัน]] โดยบริษัท [[:en:FN Herstal|เอฟ เอ็น (Fabrique Nationale; FN)]] ประเทศเบลเยียม และเข้าประจำการทั้งในกลุ่มประเทศสมาชิก[[องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ]]หรือนาโตนาโต้ (NATO) ตลอดจนประเทศที่ไม่ใช่สมาชิกองค์การดังกล่าว เนื่องจากเป็นกระสุน 5.56 มม. นาโตนาโต้มีความลงตัวทั้งอำนาจสังหารและอำนาจหยุดยั้งที่ไว้ใจได้ จึงมีปืนเล็กยาวจู่โจมอีกหลายรุ่นที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานกับกระสุน 5.56 มม. ดังกล่าวนี้
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 10:
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพฯสหรัฐฯได้เริ่มทยอยโอนปืน M1903 Springfield ไปให้กองกำลังท้องถิ่นและบางส่วนได้นำมาดัดแปลงเป็นปืนเล็กยาวซุ่มยิง M1903A4 ใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงสงครามเกาหลี ในขณะเดียวกันก็ได้ทยอยบรรจุปืนเล็กยาวบรรจุเอง M1 Garand เข้าประจำการ โดยปืน M1 Garand ออกแบบโดยจอห์น ซี กาแรนด์ ซึ่งในช่วงแรกออกแบบให้ใช้กับกระสุนขนาด 7×51 มิลลิเมตร [[:en:.276 Pedersen|(.276 Pedersen)]] และสามารถบรรจุในคลิปกระสุนได้ 10 นัด แต่เมื่อกองทัพสหรัฐฯรับมาพิจารณาใน ค.ศ.1932 ก็มีคำสั่งให้เปลี่ยนมาใช้กระสุน .30-06 ทำให้ปืนบรรจุกระสุนได้เพียง 8 นัด และรับเข้าประจำการเมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1936 ให้ชื่อเป็นทางการว่า ''United States Rifle, Caliber .30, M1'' และใช้งานมาจนถึงสงครามเกาหลี โดยในระหว่างที่ปืน M1 Garand ประจำการนี้ กองทัพสหรัฐฯก็ได้มีโครงการ '''T20''' ทำการดัดแปลงปืน M1 Garand ให้บรรจุกระสุนได้มากขึ้นโดยใช้ซองกระสุน 20 นัดของปืนเล็กกล [[:en:M1918 Browning Automatic Rifle|M1918 Browning Automatic Rifle (BAR)]] และทำการเพิ่มระบบยิงแบบอัตโนมัติเข้าไปกลายเป็นโครงการ '''T37'''
 
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ได้มีการวิจัยดินขับแบบใหม่ขึ้นจนสำเร็จจนสามารถใช้ในปริมาณน้อยลงแต่ให้แรงขับเท่าเดิม กองทัพสหรัฐฯจึงได้นำกระสุน .30-06 มาทำการลดความยาวปลอกจาก 63 มิลลิเมตรลงเป็น 51 มิลลิเมตร เพื่อนำไปใช้กับปืนในโครงการ T37 กลายเป็นโครงการ '''T44''' แล้วในที่สุดก็ประจำการเป็นปืน [[:en:M14 rifle|'''M14''']] และ [[:en:M14 rifle#M15|'''M15''']] ในปี ค.ศ. 1957 ส่วนกระสุน 7.62 มิลลิเมตรของปืน M14 ก็กลายเป็นกระสุน [['''7.62×51 มม. นาโตนาโต้''']] ซึ่งเป็นกระสุนมาตรฐานของปืนกลและปืนเล็กยาวหลายรุ่นในปัจจุบัน นอกจากนี้บริษัทวินเชสเตอร์ยังได้นำกระสุน 7.62 มม. นาโตนาโต้นี้ไปผลิตขายให้พลเรือนในชื่อว่า '''.308 Winchester''' อีกด้วย
 
แต่แล้วปืน M14 ก็มีอายุการใช้งานได้ไม่นาน เนื่องจากมีปัญหาเรื่องตัวปืนและกระสุนมีน้ำหนักมากทำให้ทหารพกพาไปได้น้อย อีกทั้งมีปัญหาเรื่องแรงสะท้อนถอยหลังสูง โดยเฉพาะเมื่อแบบอัตโนมัติจะไม่สามารถควบคุมปืนได้เลย ทำให้โครงการวิจัยปืนเล็กยาวที่ใช้กระสุนขนาดหน้าตัดเล็กแต่มีความเร็วสูงมีความชัดเจนขึ้นมาแทน ซึ่งโครงการนี้มีชื่อว่า '''Project SALVO''' ตั้งขึ้นมาแต่ ค.ศ. 1948 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะสร้างอาวุธประจำกายทหารราบที่ใช้กระสุนขนาด .22 ความเร็วสูง มีระยะหวังผล 300 เมตรขึ้นไป ภายหลังจึงได้มีข้อกำหนดเพิ่มเติมว่าต้องมีน้ำหนักเบา เลือกยิงได้ทั้งแบบทีละนัดและยิงเป็นชุด และต้องยิงเจาะหมวกเหล็กได้ในระยะ 500 เมตร
บรรทัด 24:
[[ไฟล์:5.56x45mm NATO.jpg|400px|ภาพร่างแสดงขนาดสัดส่วนต่างๆของกระสุน 5.56×45 มม.]]
 
เมื่อกระสุน 5.56 มม. แบบ M193 เริ่มได้รับความนิยมในกลุ่มประเทศองค์การ [[:th:องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ|NATO]] ทางบริษัท เอฟ เอ็น จึงได้นำกระสุนแบบ M193 ไปปรับปรุงใหม่ โดยเปลี่ยนหัวกระสุนจากเดิมหนัก 55 เกรนเป็น 62 เกรน และเพิ่มปริมาณดินขับกระสุน ทำให้ได้กระสุนแบบใหม่ที่มีความเร็วต้นเพียง 3,025 ฟุต/วินาที แต่มีแรงดันในรังเพลิงมากถึง 62,366 ปอนด์/ตารางนิ้ว เมื่อทดสอบด้วยวิธี [[:en:NATO EPVAT testing|NATO EPVAT]] หรือ 55,114 ปอนด์/ตารางนิ้ว เมื่อทดสอบด้วยวิธี [[:en:Small arms ammunition pressure testing|SCATP 5.56]] ซึ่งมีขีปนวิถีที่ดีกว่ากระสุนแบบ M193 มาก และเข้าประจำการในกองทัพเบลเยียมโดยใช้รหัสว่า '''SS109''' ต่อมาเมื่อกระสุนรุ่นดังกล่าวได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากกลุ่มประเทศสมาชิกองค์การนาโตนาโต้ จึงได้มีการกำหนดรหัสให้ใหม่ว่า '''5.56×45 mm. NATO'''
 
ส่วนกองทัพสหรัฐฯเองก็ได้นำกระสุน 5.56 นาโตนาโต้แบบ SS109 มาปรับปรุงเป็นกระสุนในรูปแบบของตนเอง โดยเพิ่มแกนเหล็กบริเวณหัวกระสุนเพื่อเพิ่มอำนาจทะลุทะลวงและแต้มสีเขียวบริเวณปลายหัวกระสุนเพื่อเป็นสัญลักษณ์ และกำหนดรหัสที่ใช้ในกองทัพว่า '''M855''' รวมทั้งมีคำสั่งให้บริษัทโคลท์ทำการปรับปรุงปืน M16A1 เป็นปืน M16A2 เพื่อรองรับกระสุนแบบ M855 ในเวลาต่อมา
[[ไฟล์:Ammunition Belt 5.56 mm.jpg|thumb|300px|สายกระสุนขนาด 5.56 นาโตนาโต้ ซึ่งใช้กับปืนกล M249 Minimi สังเกตว่าจะใส่กระสุนธรรมดา M855 จำนวน 4 นัดต่อกระสุนส่องวิถี M856 จำนวน 1 นัด]]
 
== ความแตกต่างระหว่างกระสุนขนาด 5.56 นาโตนาโต้กับกระสุน .223 เรมิงตัน ==
หลังจากที่ทางบริษัท เอฟ เอ็น ได้นำกระสุน M193 ไปปรับปรุงโดยเปลี่ยนหัวกระสุนจากเดิม 55 เกรนเป็น 62 เกรน จึงทำให้หัวกระสุนมีความยาวเพิ่มขึ้น จึงจำเป็นต้องใช้กับปืนที่มีระยะครบรอบเกลียวเร็วขึ้นกว่าเดิม โดยเริ่มแรกกำหนดไว้ที่อัตรา 1:9 ต่อมาเมื่อองค์การนาโตนาโต้รับกระสุนส่องวิถีแบบ L110 ของกองทัพเบลเยียมเข้าประจำการ กระสุนรุ่นดังกล่าวมีความยาวหัวกระสุนมากกว่ากระสุน M855 จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนปืนให้มีอัตราครบรอบเกลียวเป็น 1:7 เพื่อรองรับการใช้งานกระสุนดังกล่าว รวมถึงมีการเพิ่มปริมาณดินขับกระสุน ทำปลอกกระสุนให้หนาขึ้นกว่าเดิม และมีการปรับความลาดเอียงของไหล่ปลอกกระสุนเสียใหม่ เพื่อรองรับแรงดันในรังเพลิงที่สูงถึง 62,366 ปอนด์ต่อตารางนิ้วได้ ซึ่งทำให้เมื่อนำกระสุน 5.56 นาโตนาโต้ไปใช้กับปืนพาณิชย์ขนาด .223 เรมิงตัน ไหล่กระสุนจะไม่แนบไปกับรังเพลิง ทำให้เมื่อยิงไปแล้วอาจมีอาการปลอกแตกบริเวณคอปลอกหรือมีอาการจานแก็ปแตกทะลุออกมาบริเวณจานท้ายกระสุน รวมถึงทำให้ขอรั้งปลอกหักชำรุดได้
 
== อาวุธปืนเล็กยาวจู่โจมบางส่วนที่ใช้กระสุน 5.56 นาโตนาโต้ ==
* [[:en:Bushmaster ACR|Bushmaster ACR]]
* [[:en:FAD assault rifle|Fusil Automático Doble]]